ผศ. แพรภัทร...

105
บทที่ 6 ข้อมูลพื้นฐานและบทบาทของประเทศสมาชิกอาเซียน ผศ. แพรภัทร ยอดแก้ว กลุ่มวิชาอาเซียนศึกษา คณะมนุษย์ศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม

Transcript of ผศ. แพรภัทร...

  • บทที่ 6 ข้อมูลพื้นฐานและบทบาทของประเทศสมาชิกอาเซียน

    ผศ. แพรภัทร ยอดแก้ว กลุ่มวิชาอาเซียนศึกษา คณะมนุษย์ศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม

    https://www.google.co.th/url?sa=i&rct=j&q=&esrc=s&source=images&cd=&cad=rja&uact=8&ved=0ahUKEwjPpe7mhcPLAhVQwo4KHWJJAXMQjRwIBw&url=https://sites.google.com/site/helloasean7&psig=AFQjCNHz78khlPJP7zKl9Ga5yytDYl6blQ&ust=1458143434608558

  • http://www.google.co.th/url?sa=i&rct=j&q=&esrc=s&source=images&cd=&cad=rja&uact=8&ved=0ahUKEwiRuuy8jMPLAhUQbY4KHRE4BUAQjRwIBw&url=http://www.siamrath.co.th/web/?q%3Dcategory/channel/economy%26page%3D11&bvm=bv.116636494,d.c2E&psig=AFQjCNEJItRMv4LUqvL_C-66VQzXFYhHqQ&ust=1458145120590716

  • ชื่ออย่างเป็นทางการ เมืองหลวง สาธารณรัฐอินโดนีเซีย: Republic of Indonesia จาการ์ตา: Jakarta

    สาธารณรัฐฟิลิปปินส์: Republic of the Philippines มะนิลา: Manila

    สาธารณรัฐสิงคโปร:์ Republic of Singapore สิงคโปร์ (Singapore)

    สหพันธรัฐมาเลเซีย: Federation of Malaysia กัวลาลัมเปอร์: Kuala Lumpur

    ราชอาณาจักรไทย: Kingdom of Thailand กรุงเทพมหานคร: Bangkok)

    เนการา บรูไนดารุสซาลาม: Negara Brunei Darussalam บันดาร์เสรีเบกาวาน: Bandar Seri Begawan)

    สาธารณรัฐสังคมนิยมเวียดนาม: Socialist Republic of Vietnam ฮานอย: Hanoi

    สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว: The Lao People's Democratic Republic

    เวียงจันทน์: Vientiane

    สาธารณรัฐแห่งสหภาพเมียนม่าร์: Republic of the Union of Myanmar

    เนปีดอว์: Naypyidaw

    ราชอาณาจักรกัมพูชา: Kingdom of Cambodia พนมเปญ: Phnom Penh

  • http://www.google.co.th/url?sa=i&rct=j&q=&esrc=s&source=images&cd=&cad=rja&uact=8&ved=0ahUKEwjMk9OPjMPLAhXQBo4KHbhdDjMQjRwIBw&url=http://www.zabzaa.com/asean/%E0%B8%95%E0%B8%A3%E0%B8%B2%E0%B9%81%E0%B8%9C%E0%B9%88%E0%B8%99%E0%B8%94%E0%B8%B4%E0%B8%99%E0%B8%9B%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0%B8%88%E0%B8%B3%E0%B8%9B%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0%B9%80%E0%B8%97%E0%B8%A8%E0%B9%83%E0%B8%99%E0%B8%AD%E0%B8%B2%E0%B9%80%E0%B8%8B%E0%B8%B5%E0%B8%A2%E0%B8%99/&bvm=bv.116636494,d.c2E&psig=AFQjCNEJItRMv4LUqvL_C-66VQzXFYhHqQ&ust=1458145120590716

  • ใช้เครื่องหมายอย่างเดียวกับที่ปรากฏในธงชาติบรูไน

    เริ่มใช้เมื่อ พ.ศ. 2475 ประกอบด้วยสัญลักษณ์ 5 อย่าง คือ ราชธวัช (ธง) พระกลด (ร่ม) ปีกนก 4 ขน มือสองข้าง และซีกวงเดือนหรือพระจันทร์เสี้ยวภายในวงเดือนซึ่งหงายขึ้นนั้น มีข้อความภาษาอาหรับจารึกไว้ซึ่งแปลความได้ว่า "น้อมรับใช้ตามแนวทางของพระอัลเลาะห์เสมอ" เบื้องล่างสุดมีแพรแถบจารึกชื่อประเทศไว้ว่า บรูไนดารุสซาลาม แปลว่า นครแห่งสันติ สัญลักษณ์ต่างๆ มีความหมายดังนี้ ราชธวัช และพระกลด หมายถึง สมเด็จพระราชาธิบดีแห่งบรูไนดารุสซาลาม (ของทั้งสองสิ่งนี้ นับเป็นเครื่องราชกกุธภัณฑ์ตามคติบรูไน) ปีกนก 4 ขน หมายถึง การพิทักษ์ความยุติธรรม ความสงบ ความเจริญ และสันติสุขของชาติ มือสองข้างที่ชูขึ้น หมายถึง หน้าที่ของรัฐบาลที่จะยกระดับความมั่งคั่ ง สันติสุข และความวัฒนาถาวรให้เจริญรุ่งเรืองสืบไป ซีกวงเดือนหงาย (Bulan) หมายถึง ศาสนาอิสลาม อันเป็นศาสนาประจ าชาติ

  • เป็นรูปฉลองพระองค์ครุยคลุมพานแว่นฟ้า อัญเชิญพระแสงขรรค์

    และเครื่องหมายอุณาโลมภายใต้พระมหามงกุฎเปล่งรัศมี มีลายช่ อ ต่ อ ออกมาจากกร ร เ จี ย กจ รทั้ ง ส อ งข้ า ง รู ป ดั ง กล่ า วอยู่ เ หนื อ รู ป ด า ร าขอ งเครื่องราชอิสริยาภรณ์แห่งกัมพูชา (Royal Order of Cambodia) และมีรูปลายก้านขดอยู่ใต้รูปฉลองพระองค์ครุยอีกชั้นหนึ่ง ถัดมาทางด้านข้างทั้ง 2 ด้านขนาบด้วยรูปฉัตร 5 ชั้น โดยคชสีห์ทางด้านซ้าย และด้านขวา เบื้องล่างสุดของรูปทั้งหมดเป็นแพรแถบแสดงข้อความว่า "พระเจ้ากรุงกัมพูชา" ด้วยอักษรเขมรแบบอักษรมูลรัศมีที่เปล่งออกมาจากพระมหามงกุฎ หมายถึง ความเจริญรุ่ ง เรืองแห่งอารยธรรมเขมร ฉัตร 5 ชั้นทั้ งสองคัน หมายถึง พระมหากษัตริย์และสมเด็จพระราชินี พระแสงขรรค์ หมายถึง พระราชอ านาจและความยุติธรรม ราชสิห์และคชสีห์ หมายถึง ปวงชนชาวกัมพูชาผู้ค้ าจุนราชบัลลังก์

  • เป็นตราของสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาวที่ เริ่มใช้มาตั้งแต่ พ.ศ. 2534 หลังจากการใช้นโยบายจินตนาการใหม่ มีลักษณะตามที่ระบุไว้ในรัฐธรรมนูญแห่งสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว หมวดที่ 10 มาตราที่ 90 ไว้ว่า เครื่องหมายชาติของสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาวเป็นรูปวงกลม ด้านล่างมีรูปครึ่งกงจักรเป็นฟันเฟืองและโบว์อักษร สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว สองข้างล้อมด้วยรวงข้าวสุกเป็นรูปวงพระจันทร์และโบว์สีแดงเขียนอักษร "สันติภาพ เอกราช ประชาธิปไตย เอกภาพ วัฒนาถาวร ระหว่างกลางของสองปลายรวงข้าวมีรูปพระธาตุหลวง อยู่กลางรูปวงกลมมีหนทาง ทุ่งนา ป่าไม้ และเขื่อนไฟฟ้าน้ าตก

  • ลักษณะเป็นรูปพญาครุฑมีขนปีกข้างละ 17 ขน หาง 8 ขน โคนหาง 19 ขน และคอ 45 ขน หมายถึง วันที่ 17 สิงหาคม ค.ศ. 1945 ซึ่งเป็นวันประกาศเอกราช กลางตัวพญาครุฑนัน้มีรูปโล่ ภายในโล่แบ่งเป็นส่ีส่วน และมีโล่ขนาดเล็กช้อนทับอีกชัน้หน่ึง ช่องซ้ายบนของโล่บรรจุรูปหัวควายป่า ในภาษาอินโดนีเซียเรียกว่า "บานเต็ง" ถือเป็นสัญลักษณ์ของประชาชนช่องขวาบนบรรจุรูปต้นไทร หมายถึงลัทธิชาตินิยม ช่องซ้ายล่างบรรจุรูปดอกฝูายและช่อรวงข้าว ได้แก่ความยุตธิรรมในสังคมช่องขวาล่างบรรจุสร้อยสีทองร้อยทรงส่ีเหล่ียมสลับทรงกลม คือหลักการของมนุษยธรรมและความผูกพันในสังคมมนุษย์ที่ไม่มีจุดสิน้สุด พืน้โล่ของช่องซ้ายบนและขวาล่างนัน้มีสีแดง ส่วนช่องซ้ายล่างและขวาบนมีสีขาว โล่ขนาดเล็กที่อยู่กลางนัน้มีสีดา บรรจุรูปดาวสีทอง หมายถงึ ความเช่ือในพระเจ้าเบือ้งล่างของตราที่เท้าของพญาครุฑนัน้จับแพรแถบสีขาว บรรจุคาขวัญประจาชาติซึ่งเขียนเป็นภาษาอินโดนีเซียอย่างเก่า ความว่า "Bhinneka Tunggal lka" แปลได้ว่า "เอกภาพท่ามกลางความหลากหลาย" ตรานีอ้อกแบบโดยสุลต่านฮามิดที่ 2 แห่งปอนติอานัก (Sultan Hamid II of Pontianak) ตราแผ่นดินนีป้ระกาศใช้เป็นตราแผ่นดินของอินโดนีเซียเม่ือวันที่ 11 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2493

    ตราแผ่นดินประเทศอินโดนีเซีย มีชื่อว่า "ตราพญาครุฑปัญจศีล"

  • ประกอบด้วยส่วนหลักๆห้าส่วนคือ โล่ เสือโคร่งสองตัว พระจันทร์เสี้ยวสีเหลือง และดาวสีเหลือง 14 แฉก และแถบผ้า ตราแผ่นดินของมาเลเซียนี้สืบทอดมาจากตราแผ่นดินสหพันธรัฐมาลายาระหว่างที่ เป็นอาณานิคมของอังกฤษ เครื่องยอดประกอบด้วยรูปจันทร์เสี้ยวและดาว 14 แฉกซึ่งเรียกว่า "ดาราสหพันธ์" ("Bintang Persekutuan") รูปจันทร์เสี้ยวยังหมายถึงศาสนาอิสลาม เดิมรูปดาว 14 แฉกนั้นใช้เป็นสัญลักษณ์แทนรัฐที่รวมเป็นประเทศมาเลเซียเมื่อแรกก่อตั้ง 14 รัฐ ซึ่งมีสิงคโปร์รวมอยู่ด้วย ต่อมาเมื่อสิงคโปร์แยกตัวจากสหพันธรัฐ รูปดาว 14 แฉกนี้ก็มิได้มีการแก้ไข รูปโล่ในตราอาร์มนี้เป็นสัญลักษณ์แทนการรวมเป็นเอกภาพของรัฐต่างๆ ภายใต้สหพันธรัฐของชาวมาเลย์ ภายในโล่แบ่งพื้นที่อย่างคร่าวๆ ออกเป็น 3 แบ่งโดยละเอียดจะนับได้สิบส่วน ดังนี้ ส่วนบนสุดหรือส่วนหัวของโล่ บรรจุภาพกริช 5 เล่มบนพื้นสีแดง หมายถึงอดีตรัฐมลายูที่อยู่นอกสหพันธรัฐมาลายา 5 รัฐ ได้แก่ รัฐยะโฮร์ รัฐตรังกานู รัฐกลันตัน รัฐเกดะห์ และรัฐปะลิส ส่วนกลางโล่ประกอบด้วย ทางซ้ายสุดเป็นรูปต้นปาล์มปีนังอยู่เหนือแพรประดับสีฟูาและสีขาว หมายถึง รัฐปีนัง

  • ตรงกลางเป็นแถวช่องสี่เหลี่ยมผืนผ้า 4 แถว คือ สีของธงชาติ ได้แก่ สีแดง สีดา สีขาว และสีเหลือง เรียงจากซ้ายไปขวา สีเหล่านี้เป็นสีที่ใช้ประกอบในธงประจารัฐสมาชิกในสหพันธรัฐมาลายา ได้แก่ รัฐเนกรีเซมบิลัน (แดง-ดา-เหลือง). รัฐปาหัง (ดา-ขาว), รัฐเประ (ขาว-เหลือง) และรัฐสลังงอร์ (แดง-เหลือง) ทางขวาสุด เป็นรูปต้นมะขามปูอม (Indian gooseberry) เป็นสัญลักษณ์ของรัฐมะละกา ส่วนล่างหรือท้องโล่ แบ่งเป็นสามช่อง ทางซ้ายสุดเป็นรูปตราอาร์มประจารัฐซาบาห์ ซึ่งก่อตั้งเมื่อ พ.ศ. 2506 ส่วนตรงกลางเป็นรูปดอกชบาซึ่งเป็นดอกไม้ประจาชาติ ทางขวาสุดเป็นรูปตราอาร์มประจารัฐซาราวัก ส่วนรูปเสือโคร่งท่ายืนผงาดที่ประคองสองข้างของตราเป็นสัญลักษณ์ตามธรรมเนียมเดิมของชาวมลายู หมายถึงก าลังและความกล้า ส่วนค าขวัญประจ าดวงตราอยู่ในต าแหน่งล่างสุดของโล่ มีแพรแถบและข้อความ "Bersekutu Bertambah Mutu" มีความหมายว่า "ความเป็นเอกภาพคือพลัง"[2][3] ข้อความนี้เป็นภาษามลายู เขียนด้วยอักษรโรมันและอักษรยาวี ข้อความที่เป็นอักษรโรมันนี้ได้ถูกนามาแทนที่ข้อความเดิมซึ่งเป็นภาษาอังกฤษ ("Unity is Strength") ภายหลังจากการประกาศเอกราช

  • ลักษณะของดวงตราประกอบด้วยรูปสิงห์แบบศิลปะพม่า จ านวน 2 ตน อยู่ในท่านั่งรักษาการณ์ หันหลังให้ซึ่งกันและกัน ที่กลางตรานั้นมีภาพของแผนที่ประเทศพม่ารองรับด้วยช่อใบมะกอกคู่ ล้อมรอบด้วยลวดลายบุปผาชาติตามแบบศิลปะพม่า ที่บนสุดของดวงตราเป็นรูปดาวห้าแฉกดวงหนึ่ง รูปเหล่านี้รองรับด้วยม้วนแพรแถบจารึกนามเต็มของประเทศด้วยใจความว่า สาธารณรัฐแห่งสหภาพเมียนม่าร์

  • มีลักษณะเป็นพระอาทิตย์มีรัศมีแปดแฉกซึ่งแสดงถึงจังหวัดทั้งแปด (บาตันกัส บูลาจัน กาวิเต มะนิลา ลากูนา นูเอวา เอจิยา ปัมปางาและตาร์ลัก) ซึ่งอยู่ภายใต้กฎอัยการศึกระหว่างการปฏิวัติฟิลิปปินส์ และดาวห้าแฉกสามดวงแสดงถึงเขตทางภูมิศาสตร์หลักสามแห่งคือ ลูซอน วิซายา และ มินดาเนา พื้นสีน้ าเงินทางด้านซ้ายมีนกอินทรีของสหรัฐอเมริกา และพื้นสีแดงทางด้านขวามีสิงโตของสเปน ซึ่งแสดงถึงประวัติศาสตร์ในการเป็นอาณานิคม การออกแบบนี้คล้ายกับการออกแบบโดยเครือรัฐแห่งฟิลิปปินส์เมื่อ พ.ศ. 2483

  • ตราประจ าชาติสิงคโปร์เริ่มใช้ครั้งแรกเมื่อปี 2502

    เมื่อวันที่ 3 ธันวาคม พ.ศ. 2502 พร้อมกันกับธงชาติ

    พร้อมด้วยเพลงชาติสิงคโปร์ ณ ห้องสาบานตนประธานาธิบดีแห่งสิงค์โปร์ ที่ศาลาว่าการของเมืองสิงคโปร์ซิตี้ ลักษณะของตราแผ่นดิน เป็นรูปสิงโตและเสือถือโล่สีแดงซึ่งมีรูปดาวห้าแฉกสีขาว 5 ดวง และพระจันทร์เสี้ยวสีขาวซึ่งเป็นสัญลักษณ์ส าคัญที่ใช้บนธงชาติของสิงคโปร์ เสือเป็นสัญลักษณ์แสดงถึงความผูกพันทางประวัติศาสตร์กับประเทศมาเลเชีย และสิงโตเป็นสัญลักษณ์แสดงถึงสิงคโปร์ ด้านล่างของตราแผ่นดินเป็นริบบิ้นสีน้ าเงินจารึกค าขวัญประจ าชาติด้วยตัวหนังสือที่ทองว่า ข้างใต้มีค าขวัญ "Majulah singapura" ซึ่งมีความหมายว่า "สิงคโปร์จงเจริญ" ปัจจุบันบนตราแผ่นดินสิงคโปร์ มีสิงโตปรากฏอยู่เคียงคู่กับเสือโคร่ง โดยสิงโตด้านขวานั้นแทนประเทศสิงคโปร์ ส่วนเสือโคร่งด้านซ้ายนั้นแทนประเทศมาเลเซียแสดงถึงความสัมพันธ์ทางประวัติศาสตร์ของเกาะสิงคโปร์กับมาเลเซีย

  • ตราพระราชลัญจกรพระครุฑพ่าห์ เทพพาหนะของพระนารายณ์ ใช้เป็นสัญลักษณ์ของพระราชอ านาจแห่งพระมหากษัตริย์ผู้เป็นประมุขของชาติและเป็นองค์อวตารของพระนารายณ์ ตามแนวคิดสมมุติเทพ โดยเริ่มใช้มาตั้งแต่รัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ตั้งแต่หลัง พ.ศ. 2436 เป็นต้นมา แต่มาใช้อย่างเต็มที่แทนตราแผ่นดินเดิมทั้งหมดเมื่อ พ.ศ. 2453

  • มีรูปแบบเช่นเดียวกับประเทศคอมมิวนิสต์อื่นๆ

    มีรูปดาวสีเหลืองบนพื้นสีแดง มีรูปเฟืองและรวงข้าวหมายถึงความร่วมมือกันระหว่างแรงงานภาคเกษตรกรรมและอุตสาหกรรมตามแนวคิดแบบคอมมิวนิสต์ มีลักษณะคล้ายตราแผ่นดินของเยอรมันตะวันออกและตราแผ่นดินของจีน ซึ่งถูกน ามาสร้างเป็นตราแผ่นดินของเวียดนามเหนือเมื่อ 30 พฤศจิกายน พ.ศ. 2498 เมื่อรวมชาติกับเวียดนามใต้แล้ว จึงน ามาใช้เป็นตราแผ่นดินเวียดนามเมื่อ 2 กรกฎาคม พ.ศ. 2519

  • บรูไนดารุสซาลาม (Brunei Darussalam)

    เมื่อปี ค.ศ. 1959 บรูไนฯ ประกาศใช้ธงชาติอย่างเป็นทางการ สีเหลืองแทนราชวงศ์ สีด าและขาวแทนหัวหน้าคณะรัฐมนตรี ตรงกลางคือตราแผ่นดิน อันประกอบด้วย 5 สัญลักษณ์ ได้แก่ ราชธวัช (ธง) พระกลด (ร่ม) ปีกนก 4 ขน มือสองข้างและพระจันทร์เสี้ยว มีอักษรภาษาอาหรับ ในรูปพระจันทร์ เขียนว่า น้อมรับใช้ตามแนวทางของพระอัลเลาะห์เสมอ และส่วนด้านล่างเป็นผืนผ้า เขียนว่า บรูไน ดินแดนแห่งสันติ

  • ราชอาณาจักรกัมพูชา (Kingdom of Cambodia)

    เมื่อปี ค.ศ. 1948 ธงชาติกัมพูชา ก าเนิดในช่วงที่มีการเรียกร้องเอกราชจากประเทศฝรั่งเศส ธงชาติกัมพูชา มีรูปปราสาทนครวัดสามยอดสีขาวอยู่ตรงกลาง สีแดง หมายถึง ชาติ สีน้ าเงิน หมายถึง สถาบันพระมหากษัตริย์ ปราสาทนครวัดสีขาว หมายถึง สันติภาพและศาสนา โดยเป็นศาสนาฮินดู พราหมณ์ แล้วเปลี่ยนเป็นศาสนาพุทธ เป็นศาสนาประจ าชาติ

  • สาธารณรัฐอินโดนีเซีย (Republic of Indonesia)

    เมื่อปี ค.ศ. 1945 อินโดนีเซีย ประกาศใช้ธงชาติอย่างเป็นทางการ ธงชาติมีชื่อว่า ซังซากาเมราหป์ูตีห ์แปลว่า สีขาวและสีแดง มีที่มาจากสีธงของอาณาจักรมัชปาหิต ซึ่งเป็นอาณาจักรชวาโบราณในสมัยคริสต์วรรษที่ 13 ขบวนการชาตินิยมใช้เป็นสัญลักษณ์ต่อต้านการปกครองของฮอลันดาหรือเนเธอร์แลนด์ เมื่อประกาศเอกราช ธงสีแดงขาว จึงได้รับการยกฐานะเป็นธงชาตินับแต่นั้นมา สีแดง หมายถึง ความกล้าหาญ สีขาว หมายถึง จิตวิญญาณ

  • สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว (Lao People’s Democratic Republic)

    เมื่อปี ค.ศ.1975 ลาว ประกาศใช้ธงชาติอย่างเป็นทางการ ชื่อว่า ธงดวงเดือน ขนาดกว้าง 2 ส่วน ยาว 3 ส่วน วงกลมตรงกลาง หมายถึง ดวงจันทร์ที่ส่องสว่างเหนือแม่น้ าโขง แถบสีน้ าเงิน หมายถึง ความมั่งคั่งและความสมบูรณ์ของประเทศ แถบสีแดง หมายถึง เลือดเนื้อของประชาชนที่สูญเสียไประหว่างสงครามกอบกู้อิสรภาพ

  • มาเลเซีย (Malaysia)

    ธงชาติมาเลเซีย เรียกว่า ยาลูร์ เกมิลัง หมายถึง ธงริ้วแห่งเกียรติศักดิ์ ผืนธงเป็นริ้วสีแดงสลับขาว ขนาดเท่ากัน 14 แถบแทนความเสมอภาคของ 13 รัฐ และรัฐบาลกลาง ณ กรุงกัวลาลัมเปอร์ ดาว 14 แฉก หมายถึง ความเอกภาพของรัฐ 14 รัฐ จันทร์เสี้ยว หมายถึง สัญลักษณ์ของศาสนาอิสลาม พื้นสีน้ าเงนิ หมายถึง ความสามัคคี เป็นอันหนึ่งอันเดียวกันของคนในชาติ สีเหลืองของดาว หมายถึง สีประจ าพระองค์ของผู้ปกครองประเทศมาเลเซีย

  • สาธารณรัฐแห่งสหภาพเมียนม่าร์ (the Republic of the Union of Myanmar)

    เมื่อปี ค.ศ.2010 เมียนมาร ์ประกาศใช้ธงชาติอย่างเป็นทางการ ได้แบ่งธงออกเป็น 3 ส่วน และมีความกว้างเท่า กัน โดยแต่ละส่วน คือ สีเหลือง หมายถึง ความสุข ความสามัคคี สีเขียว หมายถึง ความอุดมสมบูรณ์ การพัฒนา และความมีสันติ และสีแดง หมายถึง ความกล้าหาญความเข้มแข็ง โดยกึ่งกลางธงมีรูปดาว 5 แฉก สีขาวหมายถึง สหภาพอันมั่นคงเป็นเอกภาพ

  • สาธารณรัฐฟิลิปปินส์ (Republic of Philippines)

    เมื่อปี ค.ศ.1997 ฟิลิปปินส์ ประกาศใช้ธงชาติอย่างเป็นทางการ สีน้ าเงิน หมายถึง ความรักชาติ ความยุติธรรมและสันติภาพ สีแดง หมายถึง ความกล้าหาญ สามเหลี่ยมด้านเท่าสีขาว หมายถึง ความเสมอภาคและสมาคมคาติปูนัน พระอาทิตย์ หมายถึง เอกราช มีรัศมี 8 แฉก คือ 8 จังหวัด ได้แก่ บาตังกาส บูลาคัน กาวีเต ลากูนา มะนิลา นวยวาเอคยิา ปัมปังกาและตาร์ลัก ดาว 3 ดวง หมายถึง เขตปกครองหลัก คือ ลูซอน มินดาเนาและวิสายัน

  • สาธารณรัฐสิงคโปร์ (Republic of Singapore)

    เมื่อปี ค.ศ.1959 สิงคโปร์ ประกาศใช้ธงชาติอย่างเป็นทางการพร้อมๆกับเพลงชาติ ธงชาติแบ่งเป็น 2 แถบตามแนวนอน สีแดง หมายถึง ความเป็นหนึ่งเดียวและความเท่าเทียมกัน สีขาว หมายถึง คุณงาม ความดีและความบริสุทธิ์ พระจันทร์เสี้ยว หมายถึง ความเจริญของชาติ ดวงดาวทั้ง 5 หมายถึง ประชาธิปไตย สันติภาพ ความเจริญก้าวหน้า ความยุติธรรม และความเสมอภาค

  • ราชอาณาจักรไทย (Kingdom of Thailand)

    เมื่อปี ค.ศ.1917 (พ.ศ. 2460) ไทย ประกาศใช้ธงชาติอย่างเป็นทางการ ตรงกับสมัยพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 6 มีชื่อว่า ธงไตรรงค์ สีแดง หมายถึง ชาติและความสามัคคีของคนในชาติ สีขาว หมายถึง ศาสนา เครื่องอบรมสั่งสอนจิตใจให้บริสุทธิ์ สีน้ าเงิน หมายถึง พระมหากษัตริย์ผู้ทรงเป็นประมุขของประเทศ ในสมัยรัชกาลที่ 8 พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวอานันทมหิดล มีการตราพระราชบัญญัติธง เมื่อปี พ.ศ. 2479 อธิบายลักษณะธงชาติว่า เป็นรูปสี่เหลี่ยม ขนาดกว้าง 6 ส่วน ยาว 9 ส่วน ด้านกว้าง 2 ใน 6 ส่วน ตรงกลางเป็นสีน้ าเงินเข้ม ต่อจากแถบสีน้ าเงินเข้มออกไป 2 ข้าง ข้างละ 1 ใน 6 ส่วน เป็นแถบสีขาว ต่อจากสีขาวออกไปทั้ง 2 ข้าง เป็นแถบสีแดง

  • สาธารณรัฐสังคมนิยมเวียดนาม (Socialist Republic of Viet Nam)

    เมื่อปี ค.ศ.1976 เวียดนาม ประกาศใช้ธงชาติอย่างเป็นทางการ เดิมเป็นธงชาติของเวียดนามเหนือในช่วงสงครามเวียดนาม หลังสงครามสงบ เวียดนามเหนือชนะ จึงใช้เป็นธงประจ าชาติ เป็นธงประจ าชาติ มีขนาดกว้าง ส่วน 2 ยาว 3 ส่วน สีแดง หมายถึง เลือดของประชาชนในการกอบกู้เอกราช ดาวสีเหลือง หมายถึง ชาวเวียดนาม แฉกทั้งห้าของดาว หมายถึง ชนชั้นทั้ง 5 ในสังคม ได้แก่ ชาวนา ปัญญาชน แรงงาน เยาวชน และทหาร

  • http://www.google.co.th/url?sa=i&rct=j&q=&esrc=s&source=images&cd=&cad=rja&uact=8&ved=0ahUKEwiq8M7riMPLAhWHkY4KHUZvDwIQjRwIBw&url=http://loadebookstogo.blogspot.com/2013/02/10.html&psig=AFQjCNHjQ2_zUczKyuGH8H9C2w7uQHHaOw&ust=1458143622751579

  • ประเทศ วันเข้าร่วมเป็นสมาชิกอาเซียน

    1. อินโดนีเซีย วันที่ 8 สิงหาคม พ.ศ. 2510

    2. ฟิลิปปินส์ วันที่ 8 สิงหาคม พ.ศ. 2510

    3. สิงคโปร์ วันที่ 8 สิงหาคม พ.ศ. 2510

    4. มาเลเซีย วันที่ 8 สิงหาคม พ.ศ. 2510

    5. ไทย วันที่ 8 สิงหาคม พ.ศ. 2510

    6. บรูไน วันที่ 8 มกราคม พ.ศ. 2527

    7.เวียดนาม วันที่ 28 กรกฎาคม พ.ศ. 2538

    8. ลาว วันที่ 23 กรกฎาคม พ.ศ. 2540

    9. เมียนม่าร์ วันที่ 23 กรกฎาคม พ.ศ. 2540

    10. กัมพูชา วันที่ 30 เมษายน พ.ศ. 2542

  • http://www.google.co.th/url?sa=i&rct=j&q=&esrc=s&source=images&cd=&cad=rja&uact=8&ved=0ahUKEwiRuuy8jMPLAhUQbY4KHRE4BUAQjRwIBw&url=http://pantip.com/topic/32722349&bvm=bv.116636494,d.c2E&psig=AFQjCNEJItRMv4LUqvL_C-66VQzXFYhHqQ&ust=1458145120590716

  • 5. พ้ืนท่ีของประเทศสมาชิกอาเซียน

    http://www.google.co.th/url?sa=i&rct=j&q=&esrc=s&source=images&cd=&cad=rja&uact=8&ved=0ahUKEwjPpe7mhcPLAhVQwo4KHWJJAXMQjRwIBw&url=http://www.asean-community.au.edu/&psig=AFQjCNHz78khlPJP7zKl9Ga5yytDYl6blQ&ust=1458143434608558

  • ที ่ ประเทศสมาชิกอาเซียน พื้นที่

    1 อินโดนีเซีย 1,919,440 ตารางกิโลเมตร

    2 เมียนม่าร์ 678,500 ตารางกิโลเมตร

    3 ไทย 513,115 ตารางกิโลเมตร

    4 เวียดนาม 331,033 ตารางกิโลเมตร

    5 มาเลเซีย 329,750 ตารางกิโลเมตร

    6 ฟิลิปปินส์ 298,170 ตารางกิโลเมตร

    7 ลาว 236,800 ตารางกิโลเมตร

    8 กัมพูชา 181,035 ตารางกิโลเมตร

    9 บรูไน 5,770 ตารางกิโลเมตร

    10 สิงคโปร ์ 699.4 ตารางกิโลเมตร

  • 6. จ ำนวนประชำกรของประเทศสมำชิกอำเซียน

    http://www.google.co.th/url?sa=i&rct=j&q=&esrc=s&source=images&cd=&cad=rja&uact=8&ved=0ahUKEwjAmZ_di8PLAhVHC44KHXuvD74QjRwIBw&url=http://www.uasean.com/dogtech/310&bvm=bv.116636494,d.c2E&psig=AFQjCNGfiqSQRJQE_xyjAF4OuE1MkAum5g&ust=1458144969340627

  • ประเทศสมาชิกอาเซียน จ านวนประชากร (คน) ล าดับในอาเซียน

    บรูไนดารุสซาลาม 411,900 10

    ราชอาณาจักรกัมพูชา 15,626,444 7

    สาธารณรัฐอินโดนีเซีย 260,581,000 1

    สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว 6,492,400 8

    มาเลเซีย 31,742,000 6

    สาธารณรัฐแห่งสหภาพเมียนมาร์ 54,363,426 5

    สาธารณรัฐฟิลิปปินส์ 102,951,000 2

    สาธารณรัฐสิงคโปร์ 5,535,000 9

    ราชอาณาจักรไทย 67,959,000 4

    สาธารณรัฐสังคมนิยมเวียดนาม 92,700,000 3

  • 7.ประเทศ ศาสนาประจ าชาติ ภาษาราชการ ประเทศ ศาสนาประจ าชาติ ภาษาราชการ 1.อินโดนีเซีย อิสลาม ภาษาบาฮาซา อินโดนีเซีย (Bahasa Indonesia) 2. ฟิลิปปินส์ คริสต์ ภาษาตากาล็อก (Tagalog) ภาษาอังกฤษ 3. เมียนม่าร์ พุทธ ภาษาเมียนม่าร์ (Burmese) 4. สิงคโปร์ ไม่มีศาสนาประจ าชาติ ภาษาอังกฤษ (English) 5. มาเลเซีย อิสลาม ภาษาบาฮาซา มาลายู (Bahasa Malayu 6. ไทย พุทธ ภาษาไทย (Thai) 7. กัมพูชา พุทธ ภาษาเขมร (Khmer) 8.เวียดนาม พุทธ ภาษาเวียดนาม (Vietnamese) 9. ลาว พุทธ ภาษาลาว (Lao) 10. บรูไน อิสลาม ภาษาบาฮาซา มาลายู (Bahasa Malayu)

  • http://www.google.co.th/url?sa=i&rct=j&q=&esrc=s&source=images&cd=&cad=rja&uact=8&ved=0ahUKEwiw8bnKicPLAhXNUo4KHdnOClYQjRwIBw&url=http://www.trang.psu.ac.th/asean/?p%3D262&bvm=bv.116636494,d.c2E&psig=AFQjCNFtshcJuiXpaPk8MoXjW3KjsiktMA&ust=1458144411076212

  • 8. สกุลเงินและอัตราแลกเปลี่ยนเงินตราของประเทศสมาชิก

    ประเทศ สกุลเงิน อัตราขายถัวเฉลี่ย 1. อินโดนีเซีย รเูปียห ์(Indonesian Rupiah: IDR) 2.7853 บาท/ 1,000 รเูปียห ์ 2. ฟิลิปปินส์ เปโซ (Philippine Peso: PHP) 0.7474 บาท/ 1 เปโซ 3. สิงคโปร์ ดอลลาร์สิงคโปร์ (Singapore Dollar: SGD) 25.2199 บาท/ 1 ดอลลาร์สิงคโปร์ 4. มาเลเซีย ริงกิต (Malaysian Ringgit: MYR) 9.6016 บาท/ 1 ริงกิต 5. ไทย บาท (Thai Baht: THB) 6. บรูไน ดอลลาร์บรูไน (Brunei Dollar: BND) 25.2692 บาท/ 1 ดอลลาร์บรูไน 7. เวียดนาม ด่อง (Vietnamese Dong: VND) 0.0015 บาท/ 1 ด่อง 8. ลาว กีบ (Laotian Kip: LAK) 0.0041 บาท/ 1 กีบ 9. เมียนม่าร์ จ๊าด (Myanmar Kyat: MMK) 0.0321 บาท/ 1 จ๊าด 10. กัมพูชา เรียล (Cambodian Riel : KHR) 0.0081 บาท/ 1 เรียล

  • 9. เขตเวลาของประเทศสมาชิกอาเซียน ประเทศ เขตเวลา 1. อินโดนีเซีย แบ่งเป็น 3 เขตเวลา 1) GMT+7 เท่ากับประเทศไทย คือ เกาะสุมาตรา (Sumatra) ชวา (Java) และกาลิมันตันตะวันตก 2) GMT+8 เร็วกว่าประเทศไทย 1 ชั่วโมง คือ กาลิมันตันตะวันออก สุลาเวสี และบาหลี 3) GMT+9 เร็วกว่าประเทศไทย 2 ชั่วโมง คือ มาลกูู (Maluku) และ อิเรี่ยน จาย่า 2. ฟิลิปปินส์ GMT+8 เร็วกว่าประเทศไทย 1 ชั่วโมง 3. สิงคโปร์ GMT+8 เร็วกว่าประเทศไทย 1 ชั่วโมง 4. มาเลเซีย GMT+8 เร็วกว่าประเทศไทย 1 ชั่วโมง 5. ไทย GMT+7 เร็วกว่ามาตรฐานกรีนิช 7 ชั่วโมง 6. บรูไน GMT+8 เร็วกว่าประเทศไทย 1 ชั่วโมง 7. เวียดนาม GMT+7 เท่ากับประเทศไทย 8. ลาว GMT+7 เท่ากับประเทศไทย 9. เมียนม่าร์ GMT+6:30 ช้ากว่าประเทศไทย 30 นาที 10. กัมพูชา GMT+7 เท่ากับประเทศไทย

  • 10. ระบอบการปกครองของประเทศอาเซียน

    ประเทศ ระบอบการปกครอง ฝ่ายประมุข ฝ่ายบริหาร 1. อินโดนีเซีย ประชาธิปไตย ประธานาธิบดี ประธานาธิบดี 2. ฟิลิปปินส์ ประชาธิปไตย ประธานาธิบดี ประธานาธิบดี 3. เมียนม่าร์ ประชาธิปไตย ประธานาธิบดี ประธานาธิบดี 4. สิงคโปร์ ประชาธิปไตย ประธานาธิบดี นายกรัฐมนตรี 5. มาเลเซีย ประชาธิปไตย กษัตริย์ นายกรัฐมนตรี 6. ไทย ประชาธิปไตย กษัตริย์ นายกรัฐมนตรี 7. กัมพูชา ประชาธิปไตย กษัตริย์ นายกรัฐมนตรี 8.เวียดนาม สังคมนิยมคอมมิวนิสต์ ประธานาธิบดี นายกรัฐมนตรี 9. ลาว สังคมนิยมคอมมิวนิสต์ ประธานาธิบดี นายกรัฐมนตรี 10. บรูไน สมบูรณาญาสิทธิราชย์ กษัตริย์ กษัตริย์

  • http://www.google.co.th/url?sa=i&rct=j&q=&esrc=s&source=images&cd=&cad=rja&uact=8&ved=0ahUKEwiq8M7riMPLAhWHkY4KHUZvDwIQjRwIBw&url=http://asean-focus.com/asean/%E0%B8%95%E0%B8%B2%E0%B8%A1%E0%B8%A1%E0%B8%B2%E0%B8%94%E0%B8%B9-%E0%B8%AA%E0%B8%B1%E0%B8%95%E0%B8%A7%E0%B9%8C%E0%B8%9B%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0%B8%88%E0%B8%B3%E0%B8%8A%E0%B8%B2%E0%B8%95%E0%B8%B4/&psig=AFQjCNHjQ2_zUczKyuGH8H9C2w7uQHHaOw&ust=1458143622751579

  • สัตว์ประจ าชาตปิระเทศอาเซียน

    1. ประเทศบรูไน “เสือโคร่ง” เป็นสัตว์ประจ าชาติบรู ไน เสือโคร่งหรือเสือลายพาดกลอน เป็นสัตว์เลี้ยงลูกด้วยน้ านม จัดเป็นสัตว์กินเนื้อ มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า “Panthera tigris” ในวงศ์ “Felidae” จัดเป็นสัตว์ที่มีขนาดใหญ่ที่สุดในวงศ์นี้ และเป็นเสือสายพันธุ์ที่ใหญ่ที่สุดด้วย

  • 2. ประเทศกัมพูชา “กูปรี” หรือ “โคไพร” เป็นสัตว์ประจ าชาติของประเทศกัมพูชา โดยเจ้านโรดมสีหนุแห่งกัมพูชาทรงประกาศให้กูปรีเป็นสัตว์ประจ าชาติของกัมพูชา กูปรีเป็นสัตว์จ าพวกกระทิงและวัวป่า มักอยู่รวมเป็นฝูง โดยฝูงหนึ่งอาจมากถึง 20 ตัว กูปรีจัดว่าเป็นสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมที่พบเห็นได้ยากที่สุดชนิดหนึ่งของโลก พบได้ทางเหนือของประเทศกัมพูชา ทางใต้ของลาว ทางตะวันตกของเวียดนาม และทางตะวันออกของไทย ปัจจุบันไม่มีการรายงานการพบมานานแล้ว

    สัตว์ประจ าชาติประเทศอาเซียน

  • 3. ประเทศอินโดนีเซีย “มังกรโคโมโด” เป็นสัตว์ประจ าชาติอินโดนีเซีย มังกรโคโมโดเป็นสัตว์เลื้อยคลานจ าพวกกิ้งก่า (มีขนาดใหญ่ที่สุดในโลก) มังกรโคโมโดถือเป็นสัตว์เลื้อยคลานใกล้สูญพันธุ์ สามารถพบได้เฉพาะบนเกาะโคโมโด ซึ่งเป็นเกาะเล็กๆ ที่ไม่มีคนอาศัยอยู่ เนื่องจากเป็นเกาะภูเขาไฟกลางทะเล

    สัตว์ประจ าชาตปิระเทศอาเซียน

  • 4.ประเทศลาว “ช้าง” เป็นสัตว์ประจ าชาติประเทศลาว ช้างถือเป็นสัตว์คู่บ้านคู่เมืองที่มีความผูกพันกับชาวลาวเป็นอย่างยิ่ง ในอดีตลาวได้รับการเรียกขานว่าเป็นเมืองล้านช้าง แต่ปัจจุบัน ประชากรช้างในลาวอยู่ในภาวะวิกฤต รัฐบาลลาวจึงได้ฟื้นฟูและอนุรักษ์ช้างลาวไว้ โดยการจัดงานบุญช้างขึ้นเป็นประจ าทุกปี

    สัตว์ประจ าชาติประเทศอาเซียน

  • สัตว์ประจ าชาตปิระเทศอาเซียน

    5. ประเทศมาเลเซีย “เสือมลายู” เป็นสัตว์ประจ าชาติมาเลเซีย เสือมลายูมีถิ่นฐานอยู่ทางตอนกลางและตอนใต้ของคาบสมุทรมลายู โดยจะเห็นสัญลักษณ์ของเสือมลายูได้จากบนตราแผ่นดินของประเทศมาเลเซีย ซึ่งเป็นการแสดงถึงพละกาลังและความกล้าหาญของชาวมาเลเซีย อีกทั้งยังใช้เป็นชื่อเล่นของฟุตบอลทีมชาติมาเลเซียอีกด้วย

  • สัตว์ประจ าชาตปิระเทศอาเซียน

    6. ประเทศเมียนม่าร์ “เสือ” เป็นสัตว์ประจ าชาติของประเทศเมียนม่าร์ ลักษณะของเสือสามารถบ่งบอกได้ถึงความอุดมสมบูรณ์ของประเทศเมียนม่าร์

  • 7. ประเทศฟิลิปปินส์ “กระบือ” เป็นสัตว์ประจ าชาติฟิลิปปินส์ ในภาษาตากาล็อก เรียกว่า คาราบาว ส าหรับในประเทศฟิลิปปินส์เลี้ยงกระบือเพื่อใช้แรงงานในไร่นา หรือใช้ส าหรับการชักลากซุงออกจากป่า โดยลักษณะนิสัยพฤติกรรมของกระบือนั้น เมื่อว่างเว้นจากการถูกใช้งานมักจะชอบนอนแช่น้ าหรือแช่ปลักโคลนเพื่อเป็นการผ่อนคลายความร้อนของร่างกาย

    สัตว์ประจ าชาตปิระเทศอาเซียน

  • 8. ประเทศสิงคโปร์ “สิงโต” เป็นสัตว์ประจ าชาติของประเทศสิงคโปร์ ซึ่งเป็นที่มาของชื่อประเทศ มาจากค าว่า สิงหปุระ (Singapura) เป็นภาษาสันสกฤต หมายถึงเมืองแห่งสิงโต ตามตานานเล่าขานเจ้าผู้ครองนครแห่งปาเล็มบัง ปัจจุบันคือส่วนหนึ่งของอินโดนีเซีย ได้ออกเดินทางแสวงหาดินแดนใหม่เพื่อสร้างเมือง แต่เรือก็อับปางลง พระองค์ได้ว่ายน้ าขึ้นฝั่ง แล้วก็เห็นสัตว์ชนิดหนึ่งมีรูปร่างล าตัวสีแดงหัวด าหัวคล้ายสิงโตหน้าอกขาว พระองค์จึงถามคนติดตามว่า สัตว์ตัวนั้นคืออะไรคนติดตามก็ตอบว่ามันคือสิงโต พระองค์จึงเปลี่ยนชื่อเกาะแห่งนั้นเสียใหม่ว่า สิงหปุระ

    สัตว์ประจ าชาติประเทศอาเซียน

  • สัตว์ประจ าชาตปิระเทศอาเซียน

    9. ประเทศไทย “ช้าง” เป็นสัตว์ประจ าชาติไทย ช้างถือเป็นสัตว์คู่บ้านคู่เมือง เนื่องจากคนไทยมีวิถีชีวิตที่ผูกพันกับช้างมาตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน ครั้งหนึ่งบนธงชาติไทยก็เคยมีรูปช้างปรากฏอยู่บนผืนธงสีแดง กระทั่งในเดือนพฤษภาคม พ.ศ. 2541 คณะรัฐมนตรีในสมัยนั้นได้มีมติเห็นชอบประกาศให้วันที่ 13 มีนาคมของทุกปี เป็นวันอนุรักษ์ช้างไทย

  • 10. ประเทศเวียดนาม “กระบือ” หรือควาย เป็นสัตว์ประจ าชาติประเทศเวียดนาม สามารถพบเห็นได้ทางตอนใต้ของประเทศเวียดนาม

    สัตว์ประจ าชาติประเทศอาเซียน

  • http://www.google.co.th/url?sa=i&rct=j&q=&esrc=s&source=images&cd=&cad=rja&uact=8&ved=0ahUKEwiUoKu4iMPLAhWIBI4KHZfDDNgQjRwIBw&url=http://www.uasean.com/dogtech/306&bvm=bv.116636494,d.c2E&psig=AFQjCNH7srJj0m8NflDdFshUTvLwI_b36w&ust=1458144147944976

  • 1.ประเทศบรูไน “ดอกส้านชวา” (Dillenia) หรือดอก “ชิมเปอร์” (Simpor) เป็นดอกไม้กลางแจ้ง เป็นไม้ปลูกได้ยาก มีกลีบดอกใหญ่สีเหลืองสด หากบานเต็มที่แล้วกลีบดอกจะมีลักษณะคล้ายร่ม พบเห็นได้ตามแม่น้าทั่วไปของบรูไน มีสรรพคุณช่วยรักษาบาดแผล จะพบดอกชิมเปอร์ได้จากธนบัตรใบละ 1 ดอลลาร์ ของประเทศบรูไน และในงานศิลปะพื้นเมือง

    ดอกไมป้ระจ าชาติอาเซียน

  • 2. ประเทศกัมพูชา “ดอกล าดวน” (Rumdul) เป็นดอกไม้สีขาวหรือเหลืองนวล กลีบดอกมีลักษณะหนาทึบและแข็งเล็กน้อย มีกลิ่นหอมเย็น ถูกจัดเป็นไม้มงคลชนิดหนึ่งเพราะมีความหมายถึงความสดชื่นหอมกรุ่น และเป็นดอกไม้ที่เป็นตัวแทนถึงสุภาพสตรี วิธีปลูกที่ถูกต้องคือปลูกไว้ในทิศตะวันตกเฉียงเหนือของตัวบ้าน ที่ ส าคัญต้องปลูกในวันพุธ

    ดอกไมป้ระจ าชาติอาเซียน

  • 3. ประเทศอินโดนีเซีย “ดอกกล้วยไม้ราตรี” (Moon Orchid) เป็นหนึ่งในดอกกล้วยไม้ที่บานอยู่ได้นานที่สุด โดยช่อของดอกนั้นสามารถแตกกิ่งและอยู่ได้นานถึง 2 - 6 เดือน โดยปกติจะบานปีละ 2 - 3 ครั้งเท่านั้น ทั้งนี้ดอกกล้วยไม้ราตรีสามารถเจริญเติบโตได้ดีในอากาศช้ืน จึงพบเห็นได้ง่ายในพื้นที่ราบต่ าของประเทศอินโดนีเซีย

    ดอกไมป้ระจ าชาติอาเซียน

  • 4.ประเทศลาว “จ าปาลาว” หรือ “ดอกลีลาวดี” (Champa) เป็นดอกไม้ที่มีสีสันหลากหลาย ไม่เฉพาะเจาะจงว่าต้องเป็นเพียงสีขาวเท่านั้น เช่น สีชมพู สีเหลือง สีแดง หรือสีโทนอ่อนต่างๆ โดยดอกจาปาลาวนั้นเป็นตัวแทนของความสุขและความจริงใจ จึงนิยมใช้กันอย่างแพร่หลายในพิธีส าคัญต่างๆ อีกทั้งยังใช้เป็นพวงมาลัยต้อนรับแขกบ้านแขกเมืองที่ส าคัญ

    ดอกไมป้ระจ าชาติอาเซียน

  • 5.ประเทศมาเลเซีย ดอกบุหงารายอ มีลักษณะกลีบดอกเป็นสีแดง มีเกสรยื่นยาวออกมาเหนือดอก เป็นดอกไม้แห่งความสูงส่งและสง่างาม ซึ่งถูกจัดให้เป็นสัญลักษณ์ของประเทศมาเลเซีย เพื่อเสริมสร้างความเป็นปึกแผ่นและความอดทนในชาติ

    ดอกไมป้ระจ าชาติอาเซียน

  • 6.ประเทศเมียนม่าร์ “ดอกประดู่” (Paduak) พม่าเรียกว่า บะเด้าปาน เป็นดอกไม้ที่พบเห็นได้ทั่วไปในประเทศ มีลักษณะเป็นสีเหลืองทอง เป็นดอกไม้แห่งเทศกาลสงกรานต์ หรือปีใหม่พม่า ในช่วงเทศกาลนี้ชาวพม่าจะเอาดอกประดู่มาเสียบผม ติดหน้ารถ ประดับบ้าน ฯลฯ นอกจากนี้แล้วดอกประดู่ยังถือเป็นสัญลักษณ์แห่งความแข็งแรงทนทาน และยังเป็นดอกไม้ที่ใช้ในการประกอบพิธีกรรมทางศาสนา

    ดอกไมป้ระจ าชาติอาเซียน

  • 7.ประเทศฟิลิปปินส์ “ดอกพุดแก้ว” (Sampaguita Jasmine) เป็นดอกไม้สีขาว กลีบดอกเป็นรูปดาว จะส่งกลิ่นหอมในตอนกลางคืน ถือเป็นสัญลักษณ์ของความบริสุทธิ์ เรียบง่าย อ่อนน้อมถ่อมตน รวมถึงความเข้มแข็งของชาวฟิลิปปินส์

    ดอกไมป้ระจ าชาติอาเซียน

  • 8. ประเทศสิงคโปร์ “กล้วยไม้แวนด้า” (Vanda Miss Joaquim) ตั้งชื่อตามผู้ผสมพันธุ์ คือ “Miss Agnes Joaquim” เป็นดอกกล้วยไม้ที่เป็นที่รู้จักมากที่สุดในประเทศสิงคโปร์ มีลักษณะสีม่วงสด เติบโตเร็ว และทนกับสิ่งแวดล้อม เปรียบเหมือนชาวสิงคโปร์ ที่ไม่ว่าจะอยู่ในสิ่งแวดล้อมแบบไหน ก็สามารถเติบโตได้ในทุกที ่

    ดอกไมป้ระจ าชาติอาเซียน

  • 9.ประเทศไทย “ดอกราชพฤกษ์” (Ratchaphruek) หรือดอกคูณ มีสีเหลืองสวยสง่างาม เป็นสัญลักษณ์แห่งความมีเกียรติ มีศักดิ์ศรี และสีเหลืองยังเป็นสีแห่งพระพุทธศาสนาและความรุ่งโรจน์ ที่แสดงให้ เห็นถึงการยึดมั่นในการท าความดี รวมทั้ งยังเป็นสัญลักษณ์แห่งความสามัคคีของคนในชาติอีกด้วย

    ดอกไมป้ระจ าชาติอาเซียน

  • 10. ประเทศเวียดนาม “ดอกบัว” (Lotus) เป็นที่รู้จักกันในนาม “ดอกไม้แห่งรุ่งอรุณ” เป็นสัญลักษณ์ของความบริสุทธิ์ ความผูกพัน และการมองโลกในแง่ดี เป็น 1 ใน 4 พรรณไม้แห่งความสง่างาม อีกทั้งยังเป็นดอกไม้แห่งความอดทนและเป็นปึกแผ่น

    ดอกไมป้ระจ าชาติอาเซียน

  • http://www.google.co.th/url?sa=i&rct=j&q=&esrc=s&source=images&cd=&cad=rja&uact=8&ved=0ahUKEwiH9sKKjcPLAhXTH44KHQq2CbIQjRwIBw&url=http://www.uasean.com/kerobow01/531&bvm=bv.116636494,d.c2E&psig=AFQjCNFXQoqAdfzDZVatx1cBK9-rX8kDkw&ust=1458145374679903

  • • ข้อมูลเศรษฐกิจ รายละเอียด

    • ทรัพยากรส าคัญ น้ ามันดิบและก๊าซธรรมชาติ

    • อุตสาหกรรมหลัก น้ ามัน อาหาร (สินค้าเกษตรและประมง) และเสื้อผ้า

    • สินค้าที่ส่งออกที่ส าคัญ น้ ามันดิบ ก๊าซธรรมชาติ

    • ตลาดส่งออกที่ส าคัญ ญี่ปุ่น อาเซียน เกาหลีใต้ ออสเตรเลีย อินเดีย

    • สินค้าน าเข้าที่ส าคัญ เครื่องจักรอุตสาหกรรม รถยนต์ เครื่องใช้ไฟฟ้า สินค้าเกษตร ข้าวและผลไม ้

    • ตลาดน าเข้าที่ส าคัญ อาเซียน สหภาพยุโรป สหรัฐอเมริกา ญี่ปุ่น จีน

    ข้อมูลทางเศรษฐกิจของบรูไน

  • • ข้อมูลเศรษฐกิจ รายละเอียด

    • ทรัพยากรส าคัญ ไม้ แหล่งน้าผลติไฟฟา้ ยิปซั่ม บุก ทองคา อัญมณ ีข้าว ข้าวโพด เหล็ก ถ่านหิน

    • อุตสาหกรรมหลัก เหมืองแร่ โครงการผลิตไฟฟ้าพลงัน้า ไม้แปรรูป อุตสาหกรรมเกษตร ก่อสร้าง เครื่องนุ่มห่ม ท่องเที่ยว

    • สินค้าที่ส่งออกที่ส าคัญ ไม้และผลิตภัณฑ์ กาแฟ ไฟฟ้า กระป๋อง ทองแดง ทองค า

    • ตลาดส่งออกที่ส าคัญ ไทย จีน เวียดนาม

    • สินค้าน าเข้าที่ส าคัญ เครื่องจักรและอุปกรณ ์ยานยนต์ เชื้อเพลิง สินคา้อุปโภคบริโภค

    • ตลาดน าเข้าที่ส าคัญ ไทย จีน เวียดนาม

    ข้อมูลทางเศรษฐกิจของ ลาว

  • • ข้อมูลเศรษฐกิจ รายละเอียด

    • ทรัพยากรส าคัญ น้ ามันและก๊าซธรรมชาติ เหมืองแร่ ถ่านหิน สัตว์น้ า

    • อุตสาหกรรมหลัก ก๊าซธรรมชาติ น้ ามัน เครื่องใช้ไฟฟา้ ไม้ เสื้อผ้า

    • สินค้าที่ส่งออกที่ส าคัญ เสื้อผ้า สิ่งทอ ยางพารา ข้าว ปลา ยาสูบ และรองเท้า

    • ตลาดส่งออกที่ส าคัญ ญี่ปุ่น จีน สหรัฐอเมริกา สิงคโปร์

    • สินค้าน าเข้าที่ส าคัญ เครื่องจักร เคมีภัณฑ์ น้ ามันเชื้อเพลงิ ผลิตภัณฑ์อาหาร

    • ตลาดน าเข้าที่ส าคัญ จีน สิงคโปร์ ญี่ปุ่น สหรัฐอเมริกา

    ข้อมูลทางเศรษฐกิจของอินโดนีเซีย

  • • ข้อมูลเศรษฐกิจ รายละเอียด

    • ทรัพยากรส าคัญ ยางพารา น้ ามันปาล์ม น้ ามันดิบ ก๊าซธรรมชาติ ไม้

    • อุตสาหกรรมหลัก อิเล็กทรอนิกส์ อุตสาหกรรมแปรรูปอาหาร

    • สินค้าที่ส่งออกที่ส าคัญ ผลิตภัณฑ์ไฟฟ้าและอิเลก็ทรอนกิส์ ก๊าซธรรมชาติเหลว น้ ามัน ปาล์ม น้ ามันส าเร็จรูป เคมีภัณฑ์

    • ตลาดส่งออกที่ส าคัญ สิงคโปร์ จีน ญี่ปุ่น สหรัฐอเมริกา ไทย

    • สินค้าน าเข้าที่ส าคัญ ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนกิส์ เครื่องจักรและอุปกรณ์ เคมีภัณฑ์ น้ ามันส าเร็จรูป อุปกรณ์ด้านการขนส่ง

    • ตลาดน าเข้าที่ส าคัญ สิงคโปร์ จีน ญี่ปุ่น สหรัฐอเมริกา ไทย

    ข้อมูลทางเศรษฐกิจของมาเลเซีย

  • •ข้อมูลเศรษฐกิจ รายละเอียด

    •ทรัพยากรส าคัญ ก๊าซธรรมชาติ ป่าไม้ แร่ธาตุ

    •อุตสาหกรรมหลัก เกษตร สิ่งทอ และสินค้าอุปโภคบริโภค

    •สินค้าที่ส่งออกที่ส าคัญ ก๊าซธรรมชาติ ไม้ เมล็ดพืช และถั่ว

    •ตลาดส่งออกที่ส าคัญ จีน ไทย อินเดีย

    •สินค้าน าเข้าที่ส าคัญ เครื่องจักรกล ใยสังเคราะห์ น้ ามันส าเร็จรูป

    •ตลาดน าเข้าที่ส าคัญ สิงคโปร์ จีน ไทย

    ข้อมูลทางเศรษฐกิจของเมียนม่าร์

  • • ข้อมูลเศรษฐกิจ รายละเอียด

    • ทรัพยากรส าคัญ สินแร่โลหะ ก๊าซธรรมชาติ ทองแดงและทองคา

    • อุตสาหกรรมหลัก เสื้อผ้า ยา เคมีภัณฑ์ ผลิตภัณฑ์ไม้ และอาหารแปรรูป

    • สินค้าที่ส่งออกที่ส าคัญ ผลิตภัณฑ์อิเล็กทรอนิกส ์เครื่องจักรกล เสือ้ผ้าสาเร็จรูป และยานพาหนะ

    • ตลาดส่งออกที่ส าคัญ สหรัฐอเมริกา ญี่ปุ่น จีน สิงคโปร์ เนเธอร์แลนด์ ฮ่องกง ไต้หวัน

    • สินค้าน าเข้าที่ส าคัญ ชิ้นส่วนอิเล็กทรอนิกส์ น้ ามันเชื้อเพลิง เครื่องจักรกล เหล็กและยานพาหนะ

    • ตลาดน าเข้าที่ส าคัญ สหรัฐอเมริกา ญี่ปุ่น จีน สิงคโปร์ เกาหลีใต้ ไต้หวัน

    ข้อมูลทางเศรษฐกิจของฟิลิปปินส์

  • • ข้อมูลเศรษฐกิจ รายละเอียด

    • ทรัพยากรส าคัญ ทรัพยากรมนุษย์ เทคโนโลยี

    • อุตสาหกรรมหลัก การผลิต การก่อสร้าง การคมนาคม และโทรคมนาคม การเงินและการธนาคาร และการบรกิารอื่นๆ

    • สินค้าที่ส่งออกที่ส าคัญ เครื่องจักรกล เครื่องไฟฟ้า เคมีภัณฑ์ เสื้อผ้า

    • ตลาดส่งออกที่ส าคัญ มาเลเซีย สหรัฐอเมริกา สหภาพยุโรป ญี่ปุ่น จีน ไต้หวัน และไทย

    • สินค้าน าเข้าที่ส าคัญ ชิ้นส่วนอุปกรณ์ไฟฟ้า น้ ามันดิบ เครื่องจักรกล เคมีภัณฑ์ ผลิตภัณฑ์อาหาร

    • ตลาดน าเข้าที่ส าคัญ มาเลเซีย สหรัฐอเมริกา ญี่ปุ่น จีน ไทย ฮ่องกง ไต้หวัน

    ข้อมูลทางเศรษฐกิจของสิงคโปร์

  • •ข้อมูลเศรษฐกิจ รายละเอียด

    •ทรัพยากรส าคัญ อัญมณแีละเครื่องประดับ ยางพารา ผลิตภัณฑ์ยาง ข้าว

    •อุตสาหกรรมหลัก สินค้าอุตสาหกรรม การบริการ อุตสาหกรรมการเกษตร

    •สินค้าที่ส่งออกที่ส าคัญ ยานยนต์และส่วนประกอบ เครื่องคอมพิวเตอร์ อุปกรณแ์ละ ส่วนประกอบ เชื้อเพลิง อัญมณีและเครือ่งประดับ

    •ตลาดส่งออกที่ส าคัญ กลุ่มประเทศอาเซียน สหรัฐอเมริกา ญี่ปุ่น และสหภาพยุโรป

    •สินค้าน าเข้าที่ส าคัญ น้ ามันดิบ เครื่องจักและสว่นประกอบ เครื่องใช้ไฟฟ้าและส่วนประกอบเคมีภัณฑ์

    •ตลาดน าเข้าที่ส าคัญ กลุ่มประเทศอาเซียน สหรัฐอเมริกา ญี่ปุ่น และสหภาพยุโรป

    ข้อมูลทางเศรษฐกิจของไทย

  • • ข้อมูลเศรษฐกิจ รายละเอียด

    • ทรัพยากรส าคัญ แร่ฟอสเฟต น้ ามันและก๊าซธรรมชาตินอกชายฝั่ง ถ่านหิน แร่บอ๊กไซต ์ไม้ซุง

    • อุตสาหกรรมหลัก อาหารแปรรูป สิ่งทอ ผลิตเครื่องจักร เหมืองแร่ ถลุงเหล็ก ปูนซีเมนต์ ปุ๋ยเคมี ยางรถยนต์ กระดาษ

    • สินค้าที่ส่งออกที่ส าคัญ สิ่งทอและเครือ่งนุ่มห่ม โทรศัพท์มือถือ น้ ามันดิบ รองเท้า เครื่องหนัง คอมพิวเตอร์ และอาหารทะเล

    • ตลาดส่งออกที่ส าคัญ สหรัฐอเมริกา อาเซียน จีน ญี่ปุ่น และสหภาพยุโรป

    • สินค้าน าเข้าที่ส าคัญ น้ ามัน ปุ๋ย รถยนต์ รถจักรยานยนต์

    • ตลาดน าเข้าที่ส าคัญ อาเซียน จีน ญี่ปุ่น และสหภาพยุโรป

    ข้อมูลทางเศรษฐกิจของเวียดนาม

  • • 1. ประเทศบรูไน เคยเป็นประธานอาเซียนมาแล้ว 3 ครั้ง คือ การประชุมสุดยอดอาเซียน ครั้งที่ 7 ในปี 2544 ครั้งที่ 22 ในปี 2556 และครั้งที่ 23 ในปี 2556

    • 2. ประเทศกัมพูชา เคยเป็นประธานอาเซียนมาแล้ว 3 ครั้ง คือ การประชุมสุดยอดอาเซียน ครั้งที่ 8 ในปี 2545 ครั้งที่ 20 ในปี 2555 และครั้งที่ 21 ในปี 2555

    • 3. ประเทศอินโดนีเซีย เคยเป็นประธานอาเซียนมาแล้ว 4 ครั้ง คือ การประชุมสุดยอดอาเซียน ครั้งที่ 1 ในปี 2519 ครั้งที่ 9 ในปี 2546 ครั้งที่ 18 ในปี 2554 และ ครั้งที่ 19 ในปี 2554

    • 4. ประเทศลาว เคยตารงตาแหน่งประธานอาเซียนมาแล้ว 1 ครั้ง คือ การประชุมสุดยอดอาเซียน ครั้งที่ 16 ในปี 2547

    • 5. ประเทศมาเลเซีย เคยเป็นประธานอาเซียนมาแล้ว 2 ครั้ง คือ การประชุมสุดยอดอาเซียน ครั้งที่ 2 ในปี 2520 และครั้งที่ 11 ในปี 2548

    • 6. ประเทศเมียนม่าร์ เคยเป็นประธานอาเซียนมาแล้ว 2 ครั้ง คือ การประชุมสุดยอดอาเซียน ครั้งที่ 24 ในปี 2557 และครั้งที่ 25 ในปีเดียวกัน

    บทบาทการเป็นประธานอาเซียนของประเทศสมาชิก

  • • 6. ประเทศเมียนม่าร ์เคยเปน็ประธานอาเซยีนมาแล้ว 2 ครั้ง คือ การประชุมสุดยอดอาเซียน ครั้งที่ 24 ในปี 2557 และครั้งที่ 25 ในปีเดียวกัน

    • 7. ประเทศฟิลิปปินส์ เคยเป็นประธานอาเซยีนมาแล้ว 2 ครั้ง คือ การประชุมสุดยอดอาเซียน ครั้งที่ 3 ในปี 2530 และครั้งที่ 12 ในปี 2550

    • 8. ประเทศสิงคโปร์ เคยเป็นประธานอาเซียนมาแล้ว 2 ครั้ง คือ การประชุมสุดยอดอาเซียน ครั้งที่ 4 ในปี 2535 และครั้งที่ 13 ในปี 2550

    • 9. ประเทศไทย เคยเป็นประธานอาเซียนมาแล้ว 3 ครั้ง คือ การประชุมสุดยอดอาเซียน ครั้งที่ 5 ในปี 2538 ครั้งที่ 14 ในปี 2552 และครั้งที่ 15 ในปี 2552

    • 10. ประเทศเวียดนาม เคยเป็นประธานอาเซียนมาแลว้ 3 ครั้ง คือ การประชุมสุดยอดอาเซียน ครั้งที่ 6 ในปี 2541 ครั้งที่ 16 ในปี 2553 และครั้งที่ 17 ในปี 2553

    บทบาทการเป็นประธานอาเซียนของประเทศสมาชิก

  • ท่ี เจ้าภาพ/ประธาน สถานที่จัดประชุม วันที่จัดประชุม 1 อินโดนีเซีย เกาะบาหลี 23-24 กุมภาพันธ์ 2519 2 มาเลเซีย กัวลาลัมเปอร์ 4-5 สิงหาคม 2520 3 ฟิลิปปินส์ มะลิลา 14-15 ธันวาคม 2530 4 สิงคโปร์ สิงคโปร์ 27-29 มกราคม 2535 5 ไทย กรุงเทพมหานคร 14-15 ธันวาคม 2538 6 เวียดนาม ฮานอย 15-16 ธันวาคม 2541 7 บรูไน บันดาร์เสรีเบกาวัน 5-6 พฤศจิกายน 2544 8 กัมพูชา พนมเปญ 4-5 พฤศจิกายน 2545 9 อินโดนีเซีย เกาะบาหลี 7-8 ตุลาคม 2546 10 ลาว เวียงจันทร์ 29-30 พฤศจิกายน 2547

    การจัดประชุมสุดยอดอาเซียนตั้งแต่เริ่มก่อตั้งอาเซียนจนถึงปี พ.ศ. 2557

  • ที่ เจ้าภาพ/ประธาน สถานที่จัดประชุม วันที่จัดประชุม 11 มาเลเซีย กัวลาลัมเปอร์ 12-14 ธันวาคม 2548 12 ฟิลิปปินส์ เกาะเซบู 11-14 มกราคม 2550 13 สิงคโปร์ สิงคโปร์ 18-22 พฤศจิกายน 2550 14 ไทย ชะอ า หัวหิน 27 กุมภาพันธ์ -1 มีนาคม 2551 15 ไทย ชะอ า หัวหิน 23-25 ตุลาคม 2552 16 เวียดนาม ฮานอย 8-9 เมษายน 2553 17 เวียดนาม ฮานอย 28-30 ตุลาคม 2553 18 อินโดนีเซีย จาการ์ตา 7-8 พฤษภาคม 2554 19 อินโดนีเซีย จาการ์ตา 17-19 พฤศจิกายน 2554 20 กัมพูชา พนมเปญ 3-4 เมษายน 2555

    การจัดประชุมสุดยอดอาเซียนตั้งแต่เริ่มก่อตั้งอาเซียนจนถึงปี พ.ศ. 2557

  • ที่ เจ้าภาพ/ประธาน สถานที่จัดประชุม วันที่จัดประชุม 21 กัมพูชา พนมเปญ 18-19 พฤศจิกายน 2555 22 บรูไน บันดาร์เสรีเบกาวัน 22-23 เมษายน 2556 23 บรูไน บันดาร์เสรีเบกาวัน 9-10 ตุลาคม 2556 24 เมียนม่าร์ กรุงเนปิดอว์ 10-11 พฤษภาคม 2557 25 เมียนม่าร์ กรุงเนปิดอว์ 9-11 พฤศจิกายน 2557

    การจัดประชุมสุดยอดอาเซียนตั้งแต่เริ่มก่อตั้งอาเซียนจนถึงปี พ.ศ. 2557

  • สรุปสาระส าคัญการประชุมสุดยอดผู้น าอาเซียน การประชุมสุดยอดผู้น าอาเซยีน ครั้งที่ 1

    ผู้น าอาเซียนได้ประกาศเจตนารมณ์ที่จะส่งเสริมสันติภาพและความมั่นคงในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ และได้แสดงเจตนารมณ์ในการที่จะพัฒนาความสัมพันธ์และความร่วมมือกับประเทศอื่นๆ ในภูมิภาค ทั้งนี้ ในระหว่างการประชุมผู้น าอาเซียนได้ลงนามใน “ปฏิญญาสมานฉันท์อาเซียน” (Declaration of ASEAN Concord) มีวัตถุประสงค์ในการที่จะเสริมสร้างพลานุภาพแห่งชาติอย่างเร่งด่วนด้วยการเพิ่มพูนความร่วมมือทางการเมือง เศรษฐกิจ สังคมและวัฒนธรรม เอกสารฉบับที่สองที่มีการลงนามกันคือ “สนธิสัญญาไมตรีและความร่วมมือในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้” (Treaty of Amity and Cooperation in Southeast Asia: TAC) มีวัตถุประสงค์เพื่อส่งเสริมสันติภาพ มิตรภาพ และความรวมมืออย่างถาวรระหว่างประชาชนในประเทศสมาชิก เอกสารฉบับที่สาม คือ “ความตกลงว่าด้วยการจัดตั้งส านักเลขา