[email protected] สไปรูไลน่า (ตอนที่ 2...

2
116 : Noverber 2010 เรียนรู้คู่ครัว [เร่อง : อาจารย์มณชัย เดชสังกรานนท์] อาจารย์มณชัย เดชสังกรานนท์ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต [email protected] 1. โปรตีน สไปรูไลน่ามีโปรตีนที่เป็นประโยชน์ต่อร่างกายในปริมาณสูง และเป็นแหล่งของอาหารจากธรรมชาติที่มีโปรตีนมากที่สุดประมาณ 50-70% ของน้ำหนักแห้ง ซึ่งมากกว่าเนื้อสัตว์และปลา (15-25%), นมผง (35%), ไข่ (12%), ถั่วเหลือง (35%) และธัญพืช (8-14%) เมื่อเปรียบเทียบสไปรูไลน่ากับยีสต์ซึ่งเป็นจุลินทรีย์ที่ใช้เป็นแหล่ง โปรตีนเหมือนกัน พบว่าผนังเซลล์ของสไปรูไลน่าไม่มีเซลลูโลสจึงทำให้ ย่อยได้ง่ายกว่ายีสต์ โปรตีนจากสไปรูไลน่าที่ส่งผลต่อสุขภาพมากที่สุด คือไฟโคไบลิโปรตีน (Phycobiliproteins) โดยโปรตีนดังกล่าวเกี่ยวข้อง กับการสังเคราะห์แสง ที่สำคัญคือ ซี-ไฟโคไซยานิน (C-Phycocyanin) และอัลโลไฟโคไซยานิน (Allophycocyanin) 2. วิตามิน สไปรูไลน่ามีเบต้าแคโรทีนมากกว่าแครอทถึง 10 เท่า การ ศึกษาทางคลินิกพบว่ามนุษย์สามารถใช้แคโรทีนจากสไปรูไลน่าได้อย่าง ดีเยี่ยม โดยเฉพาะผู้ที่เสี่ยงต่อการขาดวิตามินเอ การได้รับวิตามินเอใน ปริมาณมากอาจเป็นผลเสียต่อร่างกายแต่การได้รับเบต้าแคโรทีนจาก สไปรูไลน่าและผักมีความปลอดภัยค่อนข้างสูง เพราะว่าร่างกายมนุษย์ สามารถเปลี่ยนเบต้าแคโรทีนไปเป็นวิตามินเอได้ตามปริมาณที่ร่างกาย ต้องการ สไปรูไลน่ายังอุดมด้วยวิตามินบี 12 มากกว่าตับดิบถึง 4 เท่า และประกอบด้วยวิตามินอีกหลายชนิด เช่น ไนอาซีน ไบโอติน กรดโฟลิก อินซิทอล และวิตามินอี ในปริมาณน้อย 3. ไขมันและกรดไขมัน สไปรูไลน่ามีไขมันประมาณ 4-7% ของน้ำหนักแห้ง จาก การวิเคราะห์องค์ประกอบทางเคมีพบว่าสไปรูไลน่ามีกรดไขมันจำเป็น ซึ่งส่วนมากเป็น omega-6 มีรายงานว่า Spirulina maxima มีกรด ไขมัน Y-linolenic acid (GLA) ประมาณ 10-20% ในขณะทีS. platensis มีมากกว่าถึง 49% สำหรับกรดไขมันไม่อิ่มตัวที่พบใน สไปรูไลน่า (ตอนที่ 2) : คุณค่าทางโภชนาการของสไปรูไลน่า สไปรูไลน่าได้แก่ กรดโอเลอิค และกรดลิโนเลอิค นอกจากนี้ยังมีกรด ไขมันอิ่มตัวกรดปาลมิติคซึ่งพบว่ามีมากกว่า 60% ของกรดไขมันที่มี อยู่ใน S.maxima 4. คาร์โบไฮเดรต สไปรูไลน่ามีคาร์โบไฮเดรตเป็นองค์ประกอบประมาณ 15-25% ของน้ำหนักแห้ง ซึ่งประกอบไปด้วยกลูโคส แรมโนส แมนโนส ไซโลส และกาแลคโตส นอกจากนี้มีรายงานว่าสามารถแยกสไปรูแลน (Spirulan) ซึ่งเป็นซัลเฟต โพลีแซคคาไรด์ (sulfated polysaccharide) ที่มีน้ำหนักโมเลกุลสูงและมีคุณสมบัติในการต้านไวรัสจากสไปรูไลน่า ได้อีกด้วย 5. แร่ธาตุ สไปรูไลน่าสามารถดูดซับแร่ธาตุต่างๆ ไว้ภายในเซลล์ขณะทีมีการเจริญและสามารถดูดซึมได้ในร่างกายมนุษย์ สไปรูไลน่าจะมีแร่ธาตุ แตกต่างกันไปขึ้นอยู่กับการเจริญเติบโตและชนิดของแร่ธาตุที่มีอยูในอาหารเลี้ยง แร่ธาตุสำคัญที่พบในสไปรูไลน่าคือ เหล็ก (0.58-1.8 g/kg), ความสนใจในการนำสไปรูไลน่า (Spirulina) มาใช้เป็นอาหารเพื่อสุขภาพนั้น เริ่มจากการที่มนุษย์ทราบว่า สไปรูไลน่ามีปริมาณโปรตีนในเซลล์สูง และประกอบด้วยกรดอะมิโนที่จำเป็นหลายชนิด รวมถึงวิตามิน แร่ธาตุ กรดไขมันจำเป็น และรงควัตถุต่างๆ ที่เป็นประโยชน์ต่อร่างกาย (Richmond, 1986) สำหรับองค์ประกอบดังกล่าว ของสไปรูไลน่าพบว่าจะขึ้นอยู่กับสายพันธุ์และสภาวะในการเพาะเลี้ยง โดยสารชีวโมเลกุลที่สำคัญจากสไปรูไลน่าได้แก่

Transcript of [email protected] สไปรูไลน่า (ตอนที่ 2...

Page 1: monchaibiot@hotmail.com สไปรูไลน่า (ตอนที่ 2 ...thaifranchisedownload.com/dl/19-Spirulina.pdfค อไฟโคไบล โปรต น (Phycobiliproteins)

116 : Noverber 2010

เรียนรู้คู่ครัว[เรีื่อง : อาจารย์มณชัย เดชสังกรานนท์]

อาจารย์มณชัย เดชสังกรานนท์ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต [email protected]

1. โปรตีน สไปรูไลน่ามีโปรตีนที่เป็นประโยชน์ต่อร่างกายในปริมาณสูง

และเป็นแหล่งของอาหารจากธรรมชาติที่มีโปรตีนมากที่สุดประมาณ

50-70% ของน้ำหนักแห้ง ซึ่งมากกว่าเนื้อสัตว์และปลา (15-25%),

นมผง (35%), ไข่ (12%), ถั่วเหลือง (35%) และธัญพืช (8-14%)

เมื่อเปรียบเทียบสไปรูไลน่ากับยีสต์ซึ่งเป็นจุลินทรีย์ที่ใช้เป็นแหล่ง

โปรตีนเหมือนกัน พบว่าผนังเซลล์ของสไปรูไลน่าไม่มีเซลลูโลสจึงทำให้

ย่อยได้ง่ายกว่ายีสต์ โปรตีนจากสไปรูไลน่าที่ส่งผลต่อสุขภาพมากที่สุด

คอืไฟโคไบลโิปรตนี (Phycobiliproteins) โดยโปรตนีดงักลา่วเกีย่วขอ้ง

กบัการสงัเคราะหแ์สง ทีส่ำคญัคอื ซ-ีไฟโคไซยานนิ (C-Phycocyanin)

และอัลโลไฟโคไซยานิน (Allophycocyanin)

2. วิตามิน สไปรูไลน่ามีเบต้าแคโรทีนมากกว่าแครอทถึง 10 เท่า การ

ศึกษาทางคลินิกพบว่ามนุษย์สามารถใช้แคโรทีนจากสไปรูไลน่าได้อย่าง

ดีเยี่ยม โดยเฉพาะผู้ที่เสี่ยงต่อการขาดวิตามินเอ การได้รับวิตามินเอใน

ปริมาณมากอาจเป็นผลเสียต่อร่างกายแต่การได้รับเบต้าแคโรทีนจาก

สไปรูไลน่าและผักมีความปลอดภัยค่อนข้างสูง เพราะว่าร่างกายมนุษย์

สามารถเปลี่ยนเบต้าแคโรทีนไปเป็นวิตามินเอได้ตามปริมาณที่ร่างกาย

ต้องการ สไปรูไลน่ายังอุดมด้วยวิตามินบี 12 มากกว่าตับดิบถึง 4 เท่า

และประกอบด้วยวิตามินอีกหลายชนิด เช่น ไนอาซีน ไบโอติน

กรดโฟลิก อินซิทอล และวิตามินอี ในปริมาณน้อย

3. ไขมันและกรดไขมัน สไปรูไลน่ามีไขมันประมาณ 4-7% ของน้ำหนักแห้ง จาก

การวิเคราะห์องค์ประกอบทางเคมีพบว่าสไปรูไลน่ามีกรดไขมันจำเป็น

ซึ่งส่วนมากเป็น omega-6 มีรายงานว่า Spirulina maxima มีกรด

ไขมัน Y-linolenic acid (GLA) ประมาณ 10-20% ในขณะที่

S. platensis มีมากกว่าถึง 49% สำหรับกรดไขมันไม่อิ่มตัวที่พบใน

สไปรูไลน่า (ตอนที่ 2) : คุณค่าทางโภชนาการของสไปรูไลน่า

สไปรูไลน่าได้แก่ กรดโอเลอิค และกรดลิโนเลอิค นอกจากนี้ยังมีกรด

ไขมันอิ่มตัวกรดปาลมิติคซึ่งพบว่ามีมากกว่า 60% ของกรดไขมันที่มี

อยู่ใน S.maxima

4. คาร์โบไฮเดรต สไปรูไลน่ามีคาร์โบไฮเดรตเป็นองค์ประกอบประมาณ

15-25% ของนำ้หนกัแหง้ ซึง่ประกอบไปดว้ยกลโูคส แรมโนส แมนโนส

ไซโลส และกาแลคโตส นอกจากนี้มีรายงานว่าสามารถแยกสไปรูแลน

(Spirulan) ซึง่เปน็ซลัเฟต โพลแีซคคาไรด ์(sulfated polysaccharide)

ที่มีน้ำหนักโมเลกุลสูงและมีคุณสมบัติในการต้านไวรัสจากสไปรูไลน่า

ได้อีกด้วย

5. แร่ธาตุ สไปรูไลน่าสามารถดูดซับแร่ธาตุต่างๆ ไว้ภายในเซลล์ขณะที่

มกีารเจรญิและสามารถดดูซมึไดใ้นรา่งกายมนษุย ์สไปรไูลนา่จะมแีรธ่าต ุ

แตกต่างกันไปขึ้นอยู่กับการเจริญเติบโตและชนิดของแร่ธาตุที่มีอยู่

ในอาหารเลีย้ง แรธ่าตสุำคญัทีพ่บในสไปรไูลนา่คอื เหลก็ (0.58-1.8 g/kg),

ความสนใจในการนำสไปรูไลน่า (Spirulina) มาใช้เป็นอาหารเพื่อสุขภาพนั้น เริ่มจากการที่มนุษย์ทราบว่าสไปรูไลน่ามีปริมาณโปรตีนในเซลล์สูง และประกอบด้วยกรดอะมิโนที่จำเป็นหลายชนิด รวมถึงวิตามิน แร่ธาตุ กรดไขมนัจำเปน็และรงควตัถตุา่งๆทีเ่ปน็ประโยชนต์อ่รา่งกาย(Richmond,1986)สำหรบัองคป์ระกอบดงักลา่วของสไปรไูลนา่พบวา่จะขึน้อยูก่บัสายพนัธุแ์ละสภาวะในการเพาะเลีย้งโดยสารชวีโมเลกลุทีส่ำคญัจากสไปรไูลนา่ไดแ้ก่

Page 2: monchaibiot@hotmail.com สไปรูไลน่า (ตอนที่ 2 ...thaifranchisedownload.com/dl/19-Spirulina.pdfค อไฟโคไบล โปรต น (Phycobiliproteins)

พฤศจิกายน 2553 : 117

เอกสารอ้างอิง Richmond, A. and J.U. Grobbelaar. 1986. Factors

Affaecting the Output rate of Spirulina platensis.

Mass Cultivation Biomass. 10: 253-264.

Shimamatsu, H. 2004. Mass production of

Spirulina, an edible microalga. Hydrobiologia.

512: 39–44.

แคลเซียม (1.3-14 g/kg), ฟอสฟอรัส (6.7-9.0 g/kg) และ

โพแทสเซียม (6.4-15.4 g/kg) โดยเป็นที่ยอมรับกันว่าสไปรูไลน่าเป็น

แหล่งของอาหารที่มีธาตุเหล็กในปริมาณสูง ซึ่งมีปริมาณมากกว่า

อาหารทั่วๆ ไปถึง 10 เท่า

6. รงควัตถุ สีเขียวแกมน้ำเงินเข้มของสไปรูไลน่าเกิดจากรงควัตถุหรือ

สารสีที่สะสมอยู่ภายในเซลล์ ซึ่งสามารถดูดกลืนแสงแดดที่ช่วง

ความยาวคลื่นแตกต่างกัน รงควัตถุที่พบในสไปรูไลน่านี้ ได้แก่

แคโรทีนอยด์ (ให้สีเหลืองส้มซึ่งมีประมาณ 0.37% แบ่งเป็น แคโรทีน

และแซนโทฟีล) คลอโรฟิลล์ (พบประมาณ 1%) และรงควัตถุที่พบ

มากที่สุดคือ ไฟโคบิลิโปรตีน ได้แก่ ไฟโคไซยานิน (Phycocyanin)

และอัลโลไฟโคไซยานิน (Allophycocyanin) ซึ่งมีประมาณ 14%

ของน้ำหนักเซลล์ สำหรับกรดนิวคลีอิคพบว่ามี RNA ประมาณ

2.2-3.5% และมี DNA ประมาณ 0.6-1%

จากการค้นพบคุณค่าทางโภชนาการและสารออกฤทธิ์ทาง

ชีวภาพ (Bioactives) ที่สำคัญหลายชนิดของสไปรูไลน่า ส่งผลให้

ผู้ผลิตยาหลายรายให้ความสนใจกับการเพาะเลี้ยงสไปรูไลน่าและ

สาหร่ายขนาดเล็กอย่างแพร่หลาย ทั้งนี้เพื่อนำสารสกัดจากสไปรูไลน่า

และสาหร่ายดังกล่าวไปใช้เป็นยารักษาโรค ด้วยเหตุนี้จึงมีการนำ

เทคโนโลยีชีวภาพแขนงต่างๆ เข้ามาประยุกต์ใช้ในการเพาะเลี้ยง

สาหร่ายเพื่อเพิ่มผลิตในระดับอุตสาหกรรม รวมถึงพัฒนาถังหมักแบบ

ให้แสง (Photobioreactor) สำหรับใช้ในการเลี้ยงสาหร่ายในระบบปิด

เป็นต้น

ตารางที่ 1 องค์ประกอบทางเคมีของผลิตภัณฑ์สาหร่าย Spirulina อบแห้งของบริษัท Siam Algae Company (SAC) วิเคราะห์คุณภาพโดย Japan Food Research Laboratories.

องค์ประกอบ ปริมาณต่อน้ำหนักแห้ง100กรัม องค์ประกอบทั่วไป ความชื้น 61.40 กรัม โปรตีน 3.00 กรัม ไขมัน 8.50 กรัม เส้นใย 3 .00 กรัม เถ้า 7.70 กรัม ไนโตรเจนอิสระ 6.40 กรัม Colorants ไฟโคไซยานิน 16.20 กรัม แคโรทีนอยด์ 477.00 มิลลิกรัม คลอโรฟิลล์-เอ 1.20 กรัม Vitamins โปรวิตามิน เอ 214.00 มิลลิกรัม ไธอะมิน (V.B1) 1.98 มิลลิกรัม ไรโบฟลาวิน (V.B2) 3.63 มิลลิกรัม วิตามิน B6 0.59 มิลลิกรัม วิตามิน B12 0.11 มิลลิกรัม วิตามิน E 11.80 มิลลิกรัม ไนอะซิน 13.20 มิลลิกรัม กรดโฟลิก 42.00 ไมโครกรัม กรดแพนโทธินิก 0.88 มิลลิกรัม อินโนซิทอล 74.00 มิลลิกรัม แร่ธาตุ ฟอสฟอรัส 914.00 มิลลิกรัม เหล็ก 57.40 มิลลิกรัม แคลเซียม 171.00 มิลลิกรัม โพแทสเซียม 1.77 กรัม โซเดียม 1.05 กรัม แมกนีเซียม 257.00 มิลลิกรัม

ที่มา: Shimamatsu (2004)