บทที่ 2 แนวคิดและทฤษฎ ีที่...

34
บทที2 แนวคิดและทฤษฎีที่เกี่ยวของ ในการศึกษาอิทธิพลของวัฒนธรรมอาหรับตอสังคมมลายูในจังหวัดปตตานีนั้น จําเปนที่จะตองทําความเขาใจกับแนวคิดทฤษฎีตาง ที่เกี่ยวกับวัฒนธรรม ความสัมพันธทาง วัฒนธรรม และแนวคิดที่เกี่ยวกับภาษา โดยเฉพาะในเรื่องของคํายืมเพื่อเปนพื้นฐาน แนวทางใน การศึกษา และเพื่อใหไดองคความรูที่จะนํามาประยุกตใชกับงานวิจัยนีในบทนี้ผูศึกษาจะขอนําเสนอแนวคิดและทฤษฎี วรรณกรรมที่เกี่ยวของกับวัฒนธรรม และความสัมพันธทางวัฒนธรรม รวมถึงภูมิหลังทางดานประวัติศาสตรการปฏิสัมพันธระหวางชาว อาหรับและชาวมลายูในจังหวัดปตตานี โดยสังเขปดังนี2.1 แนวคิดเกี่ยวกับวัฒนธรรม 2.1.1 คําจํากัดความของวัฒนธรรม พระยาอนุมานราชธน (2515 : 6) ไดกลาวถึงวัฒนธรรมวา วัฒนธรรมเปนเรื่อง เกี่ยวกับ พฤติกรรม วาจาทาทาง กิจกรรม และผลิตผลของกิจกรรมที่มนุษยในสังคมผลิตหรือ ปรับปรุงขึ้นจากธรรมชาติ ในพระราชบัญญัติบํารุงวัฒนธรรมแหงชาติ พุทธศักราช 2483 หมายถึง ลักษณะที่แสดงความเจริญงอกงาม ความเปนระเบียบอันดีงาม ความกลมเกลียวกาวหนาของชาติ และศีลธรรมอันดีงามของประชาชน อารง สุทธาศาสน (2519 : 132-133) กลาววา วัฒนธรรมในความหมายโดยทั่วไป คือ แนวทางการดํารงชีวิตของสังคม หรือของกลุมแตละกลุมที่สืบทอดจากรุนหนึ่งไปอีกรุนหนึ่งอยาง ไมขาดสาย วัฒนธรรมเปนสิ่งที่แตละสังคมถือวาเปนสิ่งที่ดีงาม เปนแบบฉบับของชีวิตซึ่งคนสวนมาก หวงแหนและปกปองรักษา ดํารง ฐานดี (2520 : 30) ไดกลาวถึงความหมายของวัฒนธรรมวา ทุกสิ่งที่มนุษย สรางขึ้นมาเพื่อใชในการดํารงชีวิตรวมกันในสังคม เปนสิ่งที่คนสวนใหญในสังคมนั้นยอมรับนับถือ และปฏิบัติตาม รวมทั้งเก็บสะสมและถายทอดวิธีการประพฤติปฏิบัตินั้นตอไปยังลูกหลานดวย ระวีวรรณ ชอุมพฤกษ (2528 : 7) กลาววา วัฒนธรรม เปนชื่อรวมสําหรับแบบอยาง ของพฤติกรรมทั้งหลายที่ไดมาทางสังคม และที่ถายทอดกันไปทางสังคมโดยอาศัยสัญลักษณ 17

Transcript of บทที่ 2 แนวคิดและทฤษฎ ีที่...

Page 1: บทที่ 2 แนวคิดและทฤษฎ ีที่ ...dc.oas.psu.ac.th/dcms/files/04625/Chapter2.pdf · 2016. 10. 14. · วัฒนธรรมทางป

บทที่ 2

แนวคิดและทฤษฎีที่เก่ียวของ ในการศึกษาอิทธิพลของวัฒนธรรมอาหรับตอสังคมมลายูในจังหวัดปตตานีนั้น จําเปนที่จะตองทําความเขาใจกับแนวคิดทฤษฎีตาง ๆ ที่เก่ียวกับวัฒนธรรม ความสัมพันธทางวัฒนธรรม และแนวคิดที่เก่ียวกับภาษา โดยเฉพาะในเรื่องของคํายืมเพื่อเปนพื้นฐาน แนวทางในการศึกษา และเพื่อใหไดองคความรูท่ีจะนํามาประยุกตใชกับงานวิจัยนี้ ในบทนี้ผูศึกษาจะขอนําเสนอแนวคิดและทฤษฎี วรรณกรรมที่เก่ียวของกับวัฒนธรรมและความสัมพันธทางวัฒนธรรม รวมถึงภูมิหลังทางดานประวัติศาสตรการปฏิสัมพันธระหวางชาวอาหรับและชาวมลายูในจังหวัดปตตานี โดยสังเขปดังน้ี 2.1 แนวคิดเกี่ยวกับวัฒนธรรม 2.1.1 คําจํากัดความของวัฒนธรรม พระยาอนุมานราชธน (2515 : 6) ไดกลาวถึงวัฒนธรรมวา วัฒนธรรมเปนเรื่องเก่ียวกับ พฤติกรรม วาจาทาทาง กิจกรรม และผลิตผลของกิจกรรมที่มนุษยในสังคมผลิตหรือปรับปรุงขึ้นจากธรรมชาติ ในพระราชบัญญัติบํารุงวัฒนธรรมแหงชาติ พุทธศักราช 2483 หมายถึงลักษณะที่แสดงความเจริญงอกงาม ความเปนระเบียบอันดีงาม ความกลมเกลียวกาวหนาของชาติ และศีลธรรมอันดีงามของประชาชน อารง สุทธาศาสน (2519 : 132-133) กลาววา วัฒนธรรมในความหมายโดยทั่วไป คือ แนวทางการดํารงชีวิตของสังคม หรือของกลุมแตละกลุมที่สืบทอดจากรุนหนึ่งไปอีกรุนหนึ่งอยางไมขาดสาย วัฒนธรรมเปนส่ิงที่แตละสังคมถือวาเปนส่ิงที่ดีงาม เปนแบบฉบับของชีวิตซึ่งคนสวนมากหวงแหนและปกปองรักษา ดํารง ฐานดี (2520 : 30) ไดกลาวถึงความหมายของวัฒนธรรมวา ทุกส่ิงท่ีมนุษยสรางขึ้นมาเพื่อใชในการดํารงชีวิตรวมกันในสังคม เปนส่ิงที่คนสวนใหญในสังคมนั้นยอมรับนับถือ และปฏิบัติตาม รวมทั้งเก็บสะสมและถายทอดวิธีการประพฤติปฏิบัตินั้นตอไปยังลูกหลานดวย ระวีวรรณ ชอุมพฤกษ (2528 : 7) กลาววา วัฒนธรรม เปนชื่อรวมสําหรับแบบอยางของพฤติกรรมทั้งหลายที่ไดมาทางสังคม และที่ถายทอดกันไปทางสังคมโดยอาศัยสัญลักษณ

17

Page 2: บทที่ 2 แนวคิดและทฤษฎ ีที่ ...dc.oas.psu.ac.th/dcms/files/04625/Chapter2.pdf · 2016. 10. 14. · วัฒนธรรมทางป

18

วัฒนธรรมจึงเปนชื่อสําหรับสัมฤทธิ์ผลที่เดนชัดทั้งหมดของกลุมมนุษย รวมสิ่งทั้งหลายเหลานี้ เชน ภาษา การทําเครื่องมือ อุตสาหกรรม ศิลปะ วิทยาศาสตร กฎหมาย ศีลธรรมและศาสนา รวมถึงอุปกรณท่ีเปนวัตถุ หรือส่ิงประดิษฐ ซ่ึงแสดงรูปแบบแหงสัมฤทธิผลทางวัฒนธรรม และทําใหลักษณะวัฒนธรรมทางปญญาสามารถยังผลเปนประโยชนใชสอยได เชน อาคาร เคร่ืองมือ เครื่องจักรกล เคร่ืองมือส่ือสาร ศิลปวัตถุ ฯลฯ ในพจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน (2546 : 1058) ไดนิยามคําวา วัฒนธรรม หมายถึง ส่ิงที่ทําความเจริญงอกงามใหแกหมูคณะ นอกจากนี้งามพิศ สัตยสงวน (2543 : 21-22) ไดรวบรวมคํานิยามของวัฒนธรรมท่ีสําคัญ ๆ ของนักมานุษยวิทยาที่มีชื่อเสียงไวดังนี้ เอ็ดเวิรด บี ไทเลอร (Edward B. Tylor) ไดนิยามคําวาวัฒนธรรมไวอยางชัดเจนเปนคร้ังแรกวา “วัฒนธรรม คือส่ิงทั้งหมดที่มีลักษณะซับซอน ซ่ึงรวมทั้งความรู ความเชื่อ ศิลปะ จริยธรรม ศีลธรรม กฎหมาย ประเพณีและความสามารถอื่น ๆ รวมทั้งอุปนิสัยตาง ๆ ที่มนุษยไดมาโดยการเรียนรูจากการเปนสมาชิกของสังคม” ไวท (White)ได ใหความหมายไวว า “วัฒนธรรม คือการจัดระเ บียบของปรากฏการณตาง ๆ กลาวคือเปนการจัดระเบียบของการกระทําตางๆ หรือแบบแผนพฤติกรรมตางๆ การจัดระเบียบของความคิดตางๆ เชนความเชื่อความรูตางๆ และเปนการจัดระเบียบของความรูสึกที่ผูกพันอยูกับส่ิงตางๆ เชน ทัศนคติ การจัดระเบียบดังกลาวขึ้นอยูกับการใชระบบสัญลักษณ วัฒนธรรมเร่ิมมีขึ้นเมื่อมนุษยกลายเปนสัตวเล้ียงลูกดวยนมท่ีมีการแสดงออกโดยใชระบบสัญลักษณ เพราะสัญลักษณสําคัญอันน้ี ทําใหวัฒนธรรมถายทอดจากคนๆ หนึ่งไปยังอีกคนหนึ่งได” คูณ (Coon) นิยามวา “วัฒนธรรม คือ ผลรวมทั้งหมดของวิธีท่ีทําใหมนุษยอยูได และมีการถายทอดจากชั่วชีวิตหนึ่งไปอีกชั่วชีวิตหนึ่งโดยการเรียนรู” เค็ลล่ี (Kelly) นิยามวัฒนธรรมวา คือ “ทุกส่ิงทุกอยางท่ีมนุษยสรางขึ้นมาเพื่อใชในการดํารงชีวิตของมนุษย อาจเปนส่ิงมีเหตุผลหรือไมมีเหตุผลในชวงเวลาใดเวลาหนึ่ง เพื่อเปนแนวทางการปฏิบัติ หรือพฤติกรรมของมนุษย” เฮอรสโกวิทส (Herskovits) ไดนิยามวัฒนธรรมไวอยางส้ันๆ วา “คือส่ิงแวดลอมที่มนุษยสรางขึ้นมา” ลินตั้น (Linton) นิยามวัฒนธรรมวา คือ “กลุมคนที่จัดระเบียบแลว ที่มีแบบแผนพฤติกรรมตาง ๆ ที่เกิดจากการเรียนรูอันเปนลักษณะของสังคมท่ีเฉพาะของสังคมหนึ่ง” บิดนีย (Bidney) นิยามวัฒนธรรมวา “เปนส่ิงท่ีมนุษยไดมาโดยการเรียนรู หรือ เปนพฤติกรรมที่เกิดจากการอบรมสั่งสอน รวมทั้งความคิดของปจเจกชนตางๆ ภายในสังคมนั้น และ

Page 3: บทที่ 2 แนวคิดและทฤษฎ ีที่ ...dc.oas.psu.ac.th/dcms/files/04625/Chapter2.pdf · 2016. 10. 14. · วัฒนธรรมทางป

19

ความเฉลียวฉลาด ศิลปะ ความคิดทางสังคมและสถาบันที่สมาชิกของสังคมมักยอมรับรวมกัน และที่สมาชิกพยายามปฏิบัติตาม” คูเบอร (Cuber)ไดนิยามวัฒนธรรม ซ่ึงเปนคํานิยามที่ใหลักษณะตางๆ ของวัฒนธรรมชัดเจนมากที่สุดวา “วัฒนธรรม คือ แบบแผนพฤติกรรมที่เกิดจากการเรียนรูที่คอยๆ เปล่ียนแปลงไปเรื่อย ๆ และยังรวมผลผลิตที่เกิดจากการเรียนรู เชน ทัศนคติ คานิยม ส่ิงของตางๆ ที่คนทําขึ้น และความรูที่มีอยูรวมกันในกลุมชนหนึ่ง ๆ และมีการถายทอดไปยังสมาชิกคนอื่นๆ ในสังคม” โครเบอร (Kroeber) นิยามวัฒนธรรมวา “วัฒนธรรมประกอบไปดวยแบบแผนพฤติกรรมที่ไดมาโดยการเรียนรูและท่ีถายทอดจากรุนหนึ่งไปยังอีกรุนหนึ่งโดยใชระบบสัญลักษณนั้น เปนผลสําเร็จที่แตกตางกันไปในกลุมชนตาง ๆ วัฒนธรรมยังรวมถึงเครื่องมือเครื่องใชท่ีมนุษยสรางขึ้นมา สวนประกอบสําคัญของวัฒนธรรมยังประกอบไปดวย ความคิดตามประเพณี (ที่มีประวัติศาสตรและมีการเลือกมาจากหลายๆ อยาง) และคานิยมที่ติดตามมา ระบบวัฒนธรรมนั้นอาจพิจารณาในแงหนึ่งวาเปนผลผลิตของการกระทํา และในอีกแงหนึ่ง มันเปนเงื่อนไขท่ีจะทําใหเกิดการกระทําตอๆ ไป” สวนอมรา พงศาพิชญ (2547 : 25) นิยามวาวัฒนธรรม คือ ส่ิงที่มนุษยสรางขึ้น กําหนดขึ้น มิใชส่ิงท่ีมนุษยทําตามสัญชาตญาณ อาจเปนการประดิษฐวัตถุสิ่งของขึ้นใช หรืออาจเปนการกําหนดพฤติกรรมหรือความคิด ตลอดจนวิธีการหรือระบบการทํางาน ฉะนั้นวัฒนธรรมก็คือ ระบบในสังคมมนุษยสรางขึ้นมิใชระบบที่เกิดขึ้นโดยธรรมชาติตามสัญชาตญาณ สําหรับวัฒนธรรมตามทรรศนะของอิสลามนั้น วัฒนธรรมเปนสวนหน่ึงของศาสนา ดังคํากลาวของริยาฎ นะอฺสาน อาฆอ (Riyād Na‘sān ’Āghā) ที่ไดใหนิยามของวัฒนธรรมวา วัฒนธรรมก็คือศาสนาที่ประกอบขึ้นดวยสวนประกอบสําคัญตางๆ1 ซ่ึงเสาวนีย จิตตหมวด (2535 : 8-10) ไดอธิบายถึงสวนประกอบสําคัญนี้ก็คือ องคมิติ ซ่ึงต้ังอยูบนพื้นฐานแหงความศรัทธา นั่นก็คือการเชื่อวาอัลลอฮฺคือพระเจาองคเดียวเทาน้ัน และศาสดามูฮัมมัด คือศาสนทูตจากพระองค จากนิยามและคําจํากัดความขางตนหากไมรวมวัฒนธรรมตามทรรศนะอิสลามแลวสรุปไดวา วัฒนธรรม หมายถึงผลงานทั้งหมดท่ีมนุษยสรางขึ้นนอกเหนือจากธรรมชาติ ดังนั้นวัฒนธรรมอาจเปนไดทั้งแนวคิด ทัศนคติ มโนคติ ความรู คานิยม ประเพณี ความเชื่อ ตลอดจนการกระทําตาง ๆ ที่เกิดจากทั้งการเรียนรูของมนุษยและการถายทอดตอๆ กันมาของสังคม วัฒนธรรมจึงไมเปนเพียงวัตถุ ฉะนั้นสังคมที่ตางกันยอมมีวัฒนธรรมที่ตางกัน บุคคลอยูในวัฒนธรรมใดก็จะปฏิบัติ

1 “Halab Durrat al-Mudun” (Online) Search from http://www.aleppo-cic.sy/acic/magz/modules /news/ print.php?storyid=54 [20 April 2007]

Page 4: บทที่ 2 แนวคิดและทฤษฎ ีที่ ...dc.oas.psu.ac.th/dcms/files/04625/Chapter2.pdf · 2016. 10. 14. · วัฒนธรรมทางป

20

ตามวัฒนธรรมนั้น วัฒนธรรมเปนวิถีชี วิตหรือแบบแผนในการดําเนินชีวิตของมนุษย สังคม วัฒนธรรมจึงไมจําเปนตองเหมือนกันทุกประเทศและไมถือวาวัฒนธรรมของใครดีกวาของใคร อยางไรก็ตามวัฒนธรรมที่ปรากฏในแตละสังคมมีลักษณะที่ สําคัญคือความหลากหลายทางวัฒนธรรม และเม่ือมีวัฒนธรรมที่แปลกปลอมเขามาสูสังคมหนึ่ง เอกลักษณทางวัฒนธรรมของสังคมนั้นก็อาจเส่ือมถอยลงได ทั้งนี้คุณคาที่ สําคัญของวัฒนธรรม ก็คือความหลากหลายดังน้ันเมื่อมีแนวคิดในเร่ืองความหลากหลายของวัฒนธรรมแลว แตละสังคมจําเปนตองรักษาเอกลักษณของตนใหดํารงไว ในขณะเดียวกันก็ตองปรับปรุงพัฒนาวัฒนธรรมของตนเองใหเจริญงอกงาม ดวยเหตุน้ีจึงทําใหแตละสังคมตองมีการแลกเปลี่ยนทางวัฒนธรรมซึ่งกันและกัน ดังนั้นการสงเสริมความเจริญทางดานวัฒนธรรมจึงตองพยายามดําเนินไปพรอมกับการดํารงรักษาวัฒนธรรมอันเปนเอกลักษณของสังคมเอาไวดวย 2.1.2 ประเภทของวฒันธรรม วัฒนธรรมที่ปรากฏอยูในสังคมสามารถแบงออกไดเปน 2 ประเภทคือ 1. วัฒนธรรมทางวัตถุ (Material Culture) ซึ่งเกิดจากความคิดของมนุษย เชน อาคารบานเรือน ส่ิงกอสรางตาง ๆ ศิลปกรรมประติมากรรม ตลอดจนสิ่งของเครื่องใชตาง ๆ ซ่ึงใชเปนประจําทุกวัน 2. วัฒนธรรมทางจิตใจหรือที่ไมเก่ียวกับวัตถุ (Non Material Culture) ไดแก วัฒนธรรมที่เปนสัญลักษณและจับตองไมได เชน ภาษาพูด ระบบความเชื่อ ขนบธรรมเนียมประเพณี และกริยามารยาท ณรงค เส็งประชา (2524 : 23) ไดกลาววา วัฒนธรรมมี 2 ประเภท คือ ประการแรก วัฒนธรรมที่เปนวัตถุ ไดแก ส่ิงประดิษฐและเทคโนโลยีตาง ๆ เชน เครื่องใชในครัวเรือน อาคารบานเรือน ยานพาหนะ ฯลฯ ประการที่สอง ไดแก วัฒนธรรมที่ไมใชวัตถุ หมายถึง แบบแผนในการดําเนินชีวิต ความคิด ความเชื่อ ภาษา ศีลธรรม วิถีการกระทํา ฯลฯ สวนประดิษฐ มัชฌิมา (2522 : 13) ไดแบงวัฒนธรรมออกเปน 3 ประเภท คือ วัฒนธรรมทางความคิด หรือความเชื่อถือ หมายถึง วัฒนธรรมที่เก่ียวกับความคิดเห็น ความเชื่อถือ หรือความรูสึกนึกคิดของสังคม ซึ่งอาจจะถูกหรือผิดก็ได เชน ความจริงทางวิทยาศาสตร ความเชื่อทางศาสนา นิยายโบราณ วรรณคดี การเชื่อโชคลาง ภาษิต ฯลฯ วัฒนธรรมทางระเบียบประเพณี คือ ระเบียบแบบแผนหรือประเพณีท่ีบุคคลในสังคมยึดถือและปฏิบัติรวมกัน เชน ระเบียบประเพณี จารีต

Page 5: บทที่ 2 แนวคิดและทฤษฎ ีที่ ...dc.oas.psu.ac.th/dcms/files/04625/Chapter2.pdf · 2016. 10. 14. · วัฒนธรรมทางป

21

กฎหมาย ฯลฯ วัฒนธรรมทางวัตถุ หมายถึง ส่ิงของหรือเครื่องใชตาง ๆ ท่ีมนุษยคิดประดิษฐ มีหรือครอบครองเพื่อประโยชนของสังคม จุมพล หนิมพานิช (2526 :140) ไดอธิบายเกี่ยวกับวัฒนธรรมเพิ่มเติมวา วัฒนธรรมทางวัตถุ หมายถึง ส่ิงประดิษฐทั้งหลาย วัฒนธรรมทางสังคม เปนเร่ืองท่ีเก่ียวกับความประพฤติปฏิบัติตามมารยาททางสังคม วัฒนธรรมที่เก่ียวกับกฎหมาย ซ่ึงกอใหเกิดความเปนระเบียบในสังคม และวัฒนธรรมที่เก่ียวกับจิตใจและศีลธรรม ซ่ึงเปนแนวทางในการดําเนินชีวิต วราคม ทีสุกะ (2524:33) ไดแบงวัฒนธรรมออกเปน 4 ประเภท คือ คติธรรมเปนวัฒนธรรมประเภทที่เก่ียวกับหลักการดําเนินชีวิต ไดแก คติพจน คําสุภาษิต ตลอดจนศาสนสุภาษิต เนตติธรรม เปนวัฒนธรรมประเภทที่เก่ียวกับกฎระเบียบปฏิบัติ ตัวบทกฎหมาย วัตถุธรรม เปนวัฒนธรรมทางวัตถุ โบราณสถาน โบราณวัตถุ และสหธรรมเปนวัฒนธรรมประเภทที่เก่ียวกับหลักเกณฑ การปฏิบัติ การอยูรวมกัน เชน มารยาททางสังคม มารยาทในการรับประทานอาหาร มารยาทในการไปงานศพ มารยาทในการเขาฟงการปาฐกถา และการอภิปราย โดยในสวนของวัฒนธรรมที่ไมใชวัตถุหรือวัฒนธรรมทางจิตใจนั้น นักวิชาการอยาง งามพิศ สัตยสงวน (2543 : 53-54) ไดแบงวัฒนธรรมประเภทนี้ออกเปน 5 ประเภทยอย ไดแก 1. สถาบันสังคม อันไดแก สถาบันครอบครัว เศรษฐกิจ การเมือง การปกครอง การศึกษา ศาสนา การแพทยและสาธารณสุข เปนตน 2. วัฒนธรรมประเภทที่เก่ียวกับการควบคุมทางสังคม คือวัฒนธรรมที่ชวยทําใหเกิดระเบียบในสังคม ซ่ึงบางอยางจะเปนการควบคุมอยางเปนทางการ และบางอยางไมเปนทางการ ซ่ึงสามารถแบงเปน 5 ประเภทยอย คือ 2.1 ศาสนา ซ่ึงในหลักศาสนาจะมีขอหามตาง ๆ เชน การหามลักทรัพย หามดื่มของมึนเมา ศาสนาจึงชวยควบคุมทางสังคมได 2.2 ความเชื่อทางสังคม คือ ระบบความคิดเกี่ยวกับเร่ืองตาง ๆ ที่เปนของคนจํานวนมากในสังคม เชนในสังคมไทยคนจํานวนมากเชื่อเร่ืองนรก สวรรค บุญ บาป การทําบุญและโลกหนา 2.3 คานิยม คือ มาตรฐานที่ใชวัดวาส่ิงใดมีคาในสังคมบาง เมื่อส่ิงใดมีคา คนก็อยากมี อยากเปน อยากได ความเชื่อในคานิยมของสังคมทําใหสังคมเกิดความมีระเบียบขึ้นได 2.4 ประเพณีตาง ๆ แตละสังคมมีประเพณีตาง ๆ ท่ีถือปฏิบัติสืบทอดกันมาเปนเวลาอันยาวนาน เม่ือคนทําตามประเพณี จะทําใหเกิดความเปนระเบียบในสังคมขึ้นได 2.5 กฎหมาย คือ การควบคุมสังคมโดยตรง และทําใหเกิดความมีระเบียบขึ้นในสังคมไดเปนอยางดี

Page 6: บทที่ 2 แนวคิดและทฤษฎ ีที่ ...dc.oas.psu.ac.th/dcms/files/04625/Chapter2.pdf · 2016. 10. 14. · วัฒนธรรมทางป

22

3. ศิลปะ มายถึง การสรางสรรคผลงานในดานตาง ๆ เชน จิตรกรรม ประติมากรรม สถาปตยกรรม หัตถกรรม ดนตรี การละคร นาฏศิลปและวรรณกรรม เปนตน 4. ภาษา คือ ระบบสัญลักษณที่ใชส่ือสารติดตอกัน ทั้งภาษาพูด ภาษาเขียน รวมทั้งกิริยาทาทางตาง ๆ 5. พิธีกรรม สวนอมรา พงศาพิชญ (2547 : 25-31) ไดแบงวัฒนธรรมออกเปน 2 ลักษณะ คือ 1. วัฒนธรรมในลักษณะขนบธรรมเนียมประเพณีและความเชื่อ ขนบธรรมเนียมประเพณี คือขอตกลงอยางไมเปนทางการรวมกันของสมาชิกในสังคม ซึ่งเปนที่ยอมรับกันโดยทั่วไปเก่ียวกับพฤติกรรมท่ีควรปฏิบัติและไมควรปฏิบัติ ทั้งในระดับบุคคลและระดับสังคม ซึ่งเปนส่ิงที่คนรุนหลังเรียนรูและสืบทอดมาจากคนรุนกอน เชนการถอดรองเทากอนเขาบาน การแสดงความเคารพตอผูอาวุโสกวา สวนความเชื่อ หมายถึง ความเชื่อทางศาสนา หรือความเชื่อในส่ิงที่มีอํานาจเหนือมนุษย เชน ส่ิงศักด์ิสิทธิ์ตาง ๆ ภูตผีปศาจ เปนตน ซ่ึงความเชื่อดังกลาวมีความสําคัญมากตอวัฒนธรรม เพราะเปนส่ิงกําหนดขนบธรรมเนียมประเพณี และพฤติกรรมของสมาชิกในสังคม 2. วัฒนธรรมในลักษณะส่ิงประดิษฐและสถาปตยกรรม ทั้งวัฒนธรรมที่คนพบสมัยกอนประวัติศาสตรและวัฒนธรรมที่เปนวัตถุตาง ๆ วัฒนธรรมเปนมรดกทางสังคมมนุษย ที่ไดจัดสรรขึ้นเพื่อใชในการดํารงอยู สามารถจําแนกไดเปนวัฒนธรรมทางวัตถุ เปนวัฒนธรรมที่กอประโยชนในดานความสะดวกสบายทางกาย อันไดแก เคร่ืองมือ เครื่องใชตาง ๆ ที่อยูอาศัย เครื่องนุงหม เปนตน สวนวัฒนธรรมทางจิตใจ เปนเคร่ืองที่กอใหเกิด ความสุขทางใจ อันไดแก ความคิด ความเชื่อ ศาสนา คานิยม ศีลธรรม เปนตน ถึงอยางไรก็ตาม วัฒนธรรมทั้งสองประเภทนี้ตางก็เหล่ือมลํ้ากันอยู แบงแยกไมขาดจากกัน และในสังคมหนึ่ง ๆ ก็จะมีวัฒนธรรมทั้งสองในลักษณะที่สมดุลกัน จากการแบงเนื้อหาของวัฒนธรรมดังที่กลาวมาขางตนนั้นไมวาจะอาศัยหลักการแบงออกมาในรูปแบบใดก็ตามวัฒนธรรมที่ปรากฏอยูในสังคมสามารถแบงออกไดเปน 2 ประเภทหลัก ก็คือ วัฒนธรรมทางวัตถุ ซ่ึงเกิดจากความคิดของมนุษย เชน อาคารบานเรือน ส่ิงกอสรางตาง ๆ ศิลปกรรมประติมากรรม ตลอดจนสิ่งของเครื่องใชตาง ๆ ซึ่งใชเปนประจําทุกวัน และวัฒนธรรมทางจิตใจหรือที่ไมเก่ียวกับวัตถุ ไดแก วัฒนธรรมที่เปนสัญลักษณและจับตองไมได เชน ภาษาพูด ระบบความเชื่อ ขนบธรรมเนียมประเพณี และกริยามารยาท

Page 7: บทที่ 2 แนวคิดและทฤษฎ ีที่ ...dc.oas.psu.ac.th/dcms/files/04625/Chapter2.pdf · 2016. 10. 14. · วัฒนธรรมทางป

23

2.1.3 ลักษณะของวฒันธรรม พระยาอนุมานราชธน (2515:73) กลาวถึงลักษณะของวัฒนธรรมมี 4 ประการดังนี้ ประการแรก จะตองมีการสะสม หมายถึง จะตองมีทุนเดิมอยูกอนแลว จะสะสมทุนนั้นใหเพิ่มขึ้น เร่ือง ๆ และประการที่สอง วัฒนธรรมตองมีการปรับปรุงหมายถึง ตองรูจักดัดแปลงและปรับปรุงสวนท่ีบกพรองอยูใหเหมาะสมและถูกตอง ประการที่สาม จะตองมีการถายทอด คือ ทําใหวัฒนธรรมนั้น ๆ แพรหลายในวงกวาง ประการท่ีส่ี มีการอบรมสั่งสอนใหผูอ่ืน หรือชนรุนหลังไดสืบทอดตอกันไป อานนท อาภาภิรม (2516 : 43) ไดเห็นความเห็นวาลักษณะที่สําคัญของวัฒนธรรมคือ วัฒนธรรมเปนแนวทางแหงพฤติกรรม อันเกิดจากการเรียนรู คือ สามารถเรียนรูกันได (Learned Way of Behavior) มิใชเกิดขึ้นเองโดยปราศจากการเรียนรูมากอน เพราะมนุษยมีสมองอันทรงคุณภาพ จึงทําใหสามารถรูจักคิด ถายทอด และเรียนรู ขบวนการดังกลาว เกิดขึ้นจากการที่มีบุคคลมีการติดตอกับบุคคลอื่น ในฐานะที่เปนสมาชิกของสังคม วัฒนธรรม มีลักษณะเปนมรดกแหงสังคม เปนผลของการถายทอดการเรียนรู และเปนเคร่ืองมือท่ีใชในกระบวนการดังกลาวคือ การสื่อสารโดยใชสัญลักษณ(Symbolic Communication) ไดแก การท่ีมนุษยมีการใชภาษาเปนเคร่ืองมือในการถายทอดวัฒนธรรม จากรุนกอนมายังคนรุนหลัง มีลักษณะเปนวิถีชีวิต (Way of Life) หรือแบบแผนการดําเนินชีวิต (Design for Living) เปนส่ิงที่ไมคงที่ สามารถปรับเปลี่ยนไดตามสถานการณ ชุดา จิตพิทักษ (2528 : 145) ไดกลาวถึงลักษณะของวัฒนธรรมในลักษณะเดียวกันวา วัฒนธรรมมีลักษณะเปนอนัตตา เน่ืองจากไมอยูภายในกรอบของเอกัตบุคคล ไมพึงพาอาศัยบุคคลใดโดยเฉพาะ ทั้งไมคุมรูปอยูชนิดตายตัว ไมวาจะรูปแกนหรือรูปเต็ม ถาเปรียบกับวัตถุแลว วัฒนธรรมไมใชธาตุแท แตเปนสารผสม ทรงตัวอยูไดดวยอาศัยเหตุปจจัยซึ่งหล่ังไหลถายเท และเปล่ียนแปลงได วัฒนธรรมเกาเส่ือมลง สูญไปสิ่งใหมก็เขามาแทนที่ ซึ่งยอมครอบคลุมไปถึงส่ิงเกาที่เลาใหมดวย ทั้งน้ีทั้งนั้นเพราะมนุษยเราไมหยุดนิ่ง ยอมผลิตคิดคนทําส่ิงเกาใหแปลกใหมอยูเสมอ ส่ิงใดที่สมอัธยาศัยของกลุมก็ยอมเปนที่ยอมรับ และถายทอดมรดกทางวัฒนธรรมตอไป ดังนั้นอาจกลาวไดวา วัฒนธรรมมีลักษณะที่ไดจากการเรียนรู และส่ังสมเปนเวลานาน ไมใชส่ิงที่เกิดขึ้นเองตามธรรมชาติ พรอมกับมีการปรับปรุงใหดีขึ้นและถายทอดสูสังคมจนกลายเปนมรดกทางสังคม วัฒนธรรมเปนส่ิงท่ีมีอยูในสังคม และมีการถายทอดเปนแบบอยางในการดําเนินชีวิต ในขณะเดียวกันก็มีการเปล่ียนแปลงปรับปรุงเพื่อใหเหมาะสมกับสถานการณและความเปลี่ยนแปลงของแตละสังคมไดอีกดวย

Page 8: บทที่ 2 แนวคิดและทฤษฎ ีที่ ...dc.oas.psu.ac.th/dcms/files/04625/Chapter2.pdf · 2016. 10. 14. · วัฒนธรรมทางป

24

2.1.4 แนวคิดเกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงทางวฒันธรรม การเปลี่ยนแปลงทางวัฒนธรรม เปนการเปลี่ยนแปลงในวิถีชีวิต หรือจารีต กฎหมาย ศาสนา ส่ิงที่ประดิษฐ และวัตถุอ่ืน ๆ ในวิถีชีวิตของประชาชน โดยเฉพาะอยางย่ิงคานิยม จึงอาจกลาวไดวาพื้นฐานของการเปลี่ยนแปลงทางวัฒนธรรม ขึ้นอยูกับการเปลี่ยนแปลงทัศนคติ และพฤติกรรมของปจเจกบุคคลซึ่งเปนสมาชิกของสังคมนั้น ๆ การเปล่ียนแปลงทางวัฒนธรรมสวนมาก เกิดจากการประดิษฐและการแพรกระจาย (ผองพันธุ มณีรัตน, 2521 : 14) การเปล่ียนแปลงทางวัฒนธรรม เปนการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นในดานตางๆ ที่มนุษยประดิษฐและสรางขึ้น โดยการเปลี่ยนแปลงดังกลาวจะทําใหเกิดการเปลี่ยนแปลงทางดานคานิยม บรรทัดฐานและระบบสัญลักษณตางๆ ในสังคมนั้นๆ ซ่ึง สุริชัย หวันแกว (2547 : 157-158) ไดแยกการเปลี่ยนแปลงทางวัฒนธรรมออกเปนสองรูปแบบ ไดแก 1. การเปลี่ยนแปลงจากภายใน (Endogenous Change) อยางเชน จากการประดิษฐคิดคนวิธีการผลิตใหมขึ้นในสังคมนั้นเอง จากการตอสูขัดแยงระหวางกลุมและกระบวนการในสังคม จากการริเริ่มการเปลี่ยนแปลงจากชนชั้นนํา เปนตน 2. การเปล่ียนแปลงจากภายนอก (Exogenous Change) อยางเชน การรับเอาเทคโนโลยีหรือส่ิงประดิษฐมาจากภายนอก การลาอาณานิคม ซ่ึงบางกรณีการเปลี่ยนแปลงที่มาจากภายนอกอาจเกิดขึ้นโดยความสมัครใจ ของผูคนในสังคม หรือบางคร้ังอาจโดยการใชกําลังบีบบังคับ พระยาอนุมานราชธน (2515 : 65) กลาววา การเปลี่ยนแปลงวัฒนธรรม ไมวาจะในแง ใดลักษณะใด จะเปนไปอยางเชื่ องชาหรือรวดเร็ว ก็ขึ้นอยู กับการสังสรรควัฒนธรรม (Acculturation) คือ การที่วัฒนธรรมตางสังคมมากระทบกัน วาจะมีมากหรือนอย และมีความรุนแรงเพียงใด นอกจากนั้นในสังคมมนุษยอาจมีการรับวัฒนธรรมบางสวนมาจากสังคมขางเคียงได แตทั้งน้ีบางสวนของวัฒนธรรมที่รับมานั้นไมขัดกับคานิยมหลักของสังคม และมีความสอดคลองกับวัฒนธรรมเดิมท่ีมีอยู จนในที่สุดวัฒนธรรมที่รับมาจากสังคมอ่ืนกลายเปนวัฒนธรรมของสังคมนั้น การรับเอาวัฒนธรรมของสังคมอื่นมาในระยะแรก อาจเรียกวาเปนการยืมวัฒนธรรม แตเมื่อนาน ๆ ไปการยืมก็จะกลายเปนการรับ การยืมวัฒนธรรมและการรับวัฒนธรรมนั้นเปนจุดเร่ิมตนของการเปล่ียนแปลงทางวัฒนธรรม การเปลี่ยนแปลงทางวัฒนธรรมยังมีความเกี่ยวพันกับการเปลี่ยนแปลงทางสังคม เปรียบ เสมือนกับเชือกสองเสนที่ถูกนํามาฟนเปนเกลียวคูกัน หรือเหรียญสองดาน ซ่ึงเปนคนละสวนคนละดานกันแตก็มีการเกี่ยวพันกันอยางแนบแนน ดังที่โครเบอร (Kroeber, อางจาก ผองพันธุ มณี

Page 9: บทที่ 2 แนวคิดและทฤษฎ ีที่ ...dc.oas.psu.ac.th/dcms/files/04625/Chapter2.pdf · 2016. 10. 14. · วัฒนธรรมทางป

25

รัตน, 2521 : 19) ไดกลาวไววา สังคมและวัฒนธรรมเปนสวนประกอบซึ่งกันและกัน เชนเดียวกับกระดาษสองหนาของกระดาษแผนเดียว วัฒนธรรมแตละแหงยอมเกี่ยวของกับสังคมของตนโดยอัตโนมัติ ดังนั้นในการศึกษาการเปลี่ยนแปลงทางวัฒนธรรมที่เกิดขึ้น ก็จําเปนตองศึกษาทั้งดานสังคมและวัฒนธรรม เพราะไมใชแตเพียงวาทั้งสองเรื่องมีอิทธิพลตอกันและกันเทาน้ัน แตความสัมพันธระหวางระบบทั้งสองก็ซับซอน การรวมแนวความคิดทางสังคมและวัฒนธรรมทั้งสองอยางเขาไวดวยกัน จึงเปนเรื่องจําเปน เนื่องจากการเปลี่ยนแปลงทางสังคมและวัฒนธรรม รวมเอาการเปลี่ยนแปลงในวิธีการท่ีมนุษยใชเพื่อใหบรรลุถึงความตองการของเขา การเปลี่ยนแปลงในดานหนึ่งยอมขึ้นอยูกับการเปลี่ยนแปลงในดานอื่น ๆ (ผองพันธุ มณีรัตน, 2521 : 20) 2.1.5 แนวคิดเกี่ยวกับวัฒนธรรมอิสลาม วัฒนธรรมอิสลามมิไดจํากัดตัวเองอยูกับชนิดของอาหาร เส้ือผา เครื่องนุงหม อาคารบานเรือน หรือวิธีการติดตอส่ือสาร แตวัฒนธรรมอิสลามหมายรวมถงึการประพฤติปฏิบัติ ความสํานึกทางจิตใจ และคานิยมทางศีลธรรม นอกจากนี้วัฒนธรรมอิสลามยังหมายรวมถึงความยุติธรรม ขันติธรรม การแสดงออกทางจิตใจที่เจริญแลว ตลอดจนศิลปะและวรรณกรรม (สุรพล ทรงวีระ, 2519 : 9) โดยทั่วไปศาสนามักจะแยกกิจกรรมของศาสนาออกจากกิจกรรมทางโลก หรือแยกศาสนาออกจากวัฒนธรรมถึงแมวากิจกรรมบางอยางจะมีตนกําเนิดมาจากศาสนาก็ตาม แตสําหรับวัฒนธรรมอิสลามแลวศาสนาเปนรากฐาน เปนตัวกําหนดวัฒนธรรมของผูนับถือโดยส้ินเชิง ดังความเห็นของนักวิชาการอิสลาม ซ่ึงเห็นวา ศาสนาและวัฒนธรรมเปนส่ิงเดียวกันอยางแบงแยกมิไดสําหรับคนมุสลิม วัฒนธรรมอิสลามชวยนิยามขอบเขตทางสังคมใหแกคนมุสลิม ศาสนาอิสลามนั้นมีฐานะเปนดีน (วิถีชีวิต) ดังนั้นศาสนาอิสลามจึงรวมกิจการทุกอยางของมนุษยไว การเมืองก็เปนสวนหนึ่งท่ีแยกไมออกจากศาสนาอิสลาม (สุรินทร พิศสุวรรณ และ ชัยวัฒน สถาอนันท, ม.ป.ป. : 163) สุรพล ทรงวีระ (2519 : 10) กลาววา วัฒนธรรมอิสลามมีมาแตด้ังเดิม และผูกติดกับเสาหลักของอิสลาม นั่นคือ หลักการศรัทธาของอิสลามเปนรากฐานที่วัฒนธรรมอิสลามต้ังอยู โดยมีรากฐานท่ีสําคัญคือ อัลกุรอาน ดวยเหตุน้ีศาสนาอิสลามจึงแตกตางจากความเชื่ออ่ืน ๆ หลายประการ ท่ีสําคัญก็คือลักษณะอันรอบดานของศาสนานี้ กระทั่งครอบคลุมกิจการตาง ๆ ของมนุษยไวท้ังส้ิน จริงอยูเปนไปไดที่จะสรางวิถีชีวิตอยางรอบดานสําหรับชาวพุทธ ชาวคริสตและชาวฮินดู โดยอาศัยศาสนาของแตละ

Page 10: บทที่ 2 แนวคิดและทฤษฎ ีที่ ...dc.oas.psu.ac.th/dcms/files/04625/Chapter2.pdf · 2016. 10. 14. · วัฒนธรรมทางป

26

คน แตสําหรับชาวมุสลิม คัมภีรอัลกุรอานและจริยวัตรของศาสดาดังที่ปรากฏอยูในอัลหะดีษ เปนแนวทางที่ชัดเจน (สุรินทร พิศสุวรรณ และ ชัยวัฒน สถาอนันท, ม.ป.ป. : 119) บรรจง บินกาซัน (2522 : 161) ไดกลาวถึงศาสนาอิสลามวา อิสลามเปนแนวทางในการดําเนินชีวิตสําหรับมนุษยทุกยางกาว ตลอดจนเปนทั้งกฎระเบียบของการอยูรวมกันในสังคม ซ่ึงครอบคลุมถึงเรื่องเศรษฐกิจ การปกครอง กฎหมาย วัฒนธรรม จริยธรรม วิทยาการตาง ๆ ตลอดจนพฤติกรรมของมนุษยในทุกสาขา โดยมีคัมภีรอัลกุรอานและแบบอยางคําสอนของศาสดามุฮมัมัดเปนธรรมนูญสูงสุด เสาวนีย จิตตหมวด (2535 : 8)กลาวถึงวัฒนธรรมอิสลามวา หมายถึงวิถีในการดําเนินชีวิต หรือรูปแบบแหงพฤติกรรมของมุสลิมตลอดจนสิ่งที่สรางสรรคขึ้นมาซึ่งต้ังอยูบนพื้นฐานแหงความศรัทธาวา อัลลอฮฺ คือพระเจาเพียงองคเดียว และมุฮัมมัด คือศาสนทูตของพระองค มอรแกน (Morgan, 1985, อางถึงใน อุษา จารุภา, 2541 : 33) กลาวถึงวิถีชีวิตมุสลิมวา วิถีชีวิตประจําวันของมุสลิมถูกกําหนดโดยคําสอนบทบัญญัติที่ละเอียดออนของพระคัมภีรอัลกุรอานที่บัญญัติไวนานนับศตวรรษ และโดยจริยปฏิบัติของศาสดามุฮัมมัด สวนอารง สุทธาศาสน (2519:133) มีความเห็นวา วัฒนธรรมกับเรื่องศาสนาก็คือเร่ืองเดียวกัน แยกกันไมออก เพราะสวนหนึ่งของศาสนาอิสลาม คือ แนวทางการดํารงชีวิตที่สังคมมุสลิมถือวาถูกตอง ซ่ึงถามองอีกแงหนึ่งก็คือ วัฒนธรรมของสังคมนั่นเอง โดยสุธิวงศ พงศไพบูลย (2547: 186) ไดกลาวเพิ่มเติมวา ในตัวศาสนาอิสลามยอมไมมีวัฒนธรรมทองถ่ิน แตในความเปนมุสลิมของศาสนิกชนอิสลาม ยอมตองมีการรับเอาประเพณีทองถ่ินไวมากบางนอยบาง ตามภาวะและกลุมชน และวิถีชีวิตของมุสลิมยอมอาศัย (1) ศาสนบัญญัติ (2) ขนบประเพณีที่ไมขัดกับศาสนบัญญัติ (3) ระเบียบของบานเมือง และ (4) ความเปนสากลนิยม ซ่ึงสอดคลองกับคํากลาวของ อักบาร เอส. อาเหม็ด (Akbar S. Ahmed) นักมานุษยวิทยาชาวปากีสถานที่ไดเสนอวา ศาสนาอิสลามนั้นมีเพียงหนึ่ง แตความเปนมุสลิมนั้นมีหลากหลาย (สุเทพ สุนทรเภสัช, 2548 : 99) นอกจากนี้อะหฺมัด บัดรฺ หะสูน (’Ah mad Badr h asūn) กลาววา วัฒนธรรมอิสลาม เปนวัฒนธรรมที่สมบูรณที่สุดของมนุษย เนื่องจากการผสมผสานระหวางอารยธรรมเกาแก กับกฏเกณฑของพระเจา ซ่ึงริยาฎ นะอฺสาน อาฆอ (Riyād Na‘sān ’Āghā) กลาววา มันเปนวัฒนธรรมท่ีพิเศษ เนื่องจากมันไดผสมผสานอารยธรรมตาง ๆ เขาไวดวยกัน และลักษณะสําคัญอีกประการหนึ่งก็คือวัฒนธรรมอิสลามไมไดเปนเพียงวัฒนธรรมของชาวมุสลิม หากแตยังสามารถเปนวัฒนธรรมของชนตางศาสนิกอีกดวย ดังคํากลาวของโยฮานา อิบรอฮีม (Yūh anā ’Ibrāhīm) บาทหลวงใหญแหงซีเรีย ความวา “เราชาวคริสตถือวาวัฒนธรรมอิสลามนั้นคือวัฒนธรรมของเรา เนื่องจากวัฒนธรรม

Page 11: บทที่ 2 แนวคิดและทฤษฎ ีที่ ...dc.oas.psu.ac.th/dcms/files/04625/Chapter2.pdf · 2016. 10. 14. · วัฒนธรรมทางป

27

ดังกลาวไดชวยหลอหลอมวิถีชีวิตของชาวคริสตดวยเชนกัน”2 จากความเห็นดังกลาวจะเห็นถึงลักษณะพิเศษของวัฒนธรรมอิสลามที่มีความหลากหลาย ซ่ึงจะขึ้นอยูกับกลุมของผูนับถือเปนหลัก แนวคิดเกี่ยวกับวัฒนธรรมอิสลามนั้นปรากฏในเนื้อหาหลักของอัลกุรอานที่เก่ียวของกับความสัมพันธระหวางอัลลอฮฺ และมนุษย ซ่ึงหลักการพื้นฐานของวัฒนธรรมอิสลามที่ อัลกุรอานไดนิยามไวมีใจความดังนี้

tβρâß∆ù's? Å∃ρã÷èyϑø9$$Î/ šχöθyγ÷Ψs?uρ Ç⎯tã Ìx6Ζßϑø9$#

tβθãΖÏΒ÷σè?uρ «!$$Î/ 3

) 110: عمران آل( ความวา “พวกเจาใชใหปฏบัิติส่ิงท่ีชอบ และหามมิใหปฏิบัติส่ิงที่มิชอบ และมีศรัทธามั่นในอัลลอฮ”ฺ (อาละอิมรอน : 110)

อิสมาอีล อัลฟารูกี (’Ismā‘īl al-Fārūqīy) อางถึงใน อรุณ วิทยานนท (2536 : 268) ไดอธิบายถึงพื้นฐานของวิถีชีวิตแบบอิสลามวา “หลักศรัทธา” ซ่ึงเปนการยอมรับอยางมั่นใจวาอัลลอฮฺเปนหนึ่งสมบูรณเปนผูสรางที่อยูเหนือธรรมชาติเปนพระเจาและเปนนายของทุกส่ิงน้ันเปนแกนแทของวัฒนธรรมอิสลาม เน่ืองจาก“หลักศรัทธา” คือหลักการปูทางใหกับพื้นฐานชีวิตอิสลาม ความคิด พฤติกรรม รวมถึงวัฒนธรรมอิสลามยังเปนผลิตผลของการปฏิสัมพันธระหวางเร่ืองราวหลากหลายทางประวัติศาสตร ศาสนา สังคม และการเมืองอันจะนําไปสูการผลิดอกออกผลอยางงดงามของวัฒนธรรมและอารยธรรมอิสลามอยางที่ปรากฏในปจจุบันตามสวนตาง ๆ ของโลก อยางเชน ซาอุดีอาระเบีย อียิปต อินโดนีเซีย มาเลเซีย และแทนซาเนีย รวมถึงประเทศที่มีมุสลิมเปนชนกลุมนอย อยางเชน ประเทศไทย และสหรัฐอเมริกา เปนตน ดังนั้นหากพิจารณาประวัติศาสตรอิสลามที่แพรขยายออกไปในอาหรับจะเห็นไดวาหลักศรัทธา และบทบัญญัติทําหนาที่เปนพื้นฐานสําหรับการพัฒนารูปแบบวัฒนธรรมอิสลามของโลก ส่ิงนี้เห็นไดเมื่อเราพูดถึงรูปธรรมทางวัฒนธรรม อยางเชนวัฒนธรรมมุสลิมของยุโรป หรือแมแตวัฒนธรรมมุสลิมอเมริกัน ท้ังหมดนี้เปนสวนสําคัญของวัฒนธรรมอิสลาม ความงดงามหลายอยางใน 2 “Halab Durrat al-Mudun” (Online) Search from http://www.aleppocic.sy/acic/magz/modules/news/ print.php?storyid=54 [20 April 2007]

Page 12: บทที่ 2 แนวคิดและทฤษฎ ีที่ ...dc.oas.psu.ac.th/dcms/files/04625/Chapter2.pdf · 2016. 10. 14. · วัฒนธรรมทางป

28

วัฒนธรรมอิสลามเห็นไดจากแนวโนมความหลากหลายในความคิดอิสลามในดานวรรณกรรม ประวัติศาสตร ศิลปะ สถาปตยกรรม ดนตรี วิทยาศาสตร เทคโนโลยี การคา และการพาณิชย ซ่ึงปรากฏขึ้นมาในโลกมุสลิมตั้งแต 1400 กวาปมาแลว และในฐานะที่เปนปรากฏการณทางวัฒนธรรมก็จะมีสวนอนุเคราะหตอไปถึงวัฒนธรรมในอนาคต ดังนั้นความหลากหลายในวัฒนธรรมทางศาสนาจึงเปนผลิตผลแหงการปฏิสัมพันธกันระหวางโลกทรรศนทางศาสนา และสังคมท่ีหลากหลายของมนุษย ซ่ึงสามารถแสดงเปนโครงสรางไดดังนี้ ภาพที่ 1 แสดงโครงสรางของวัฒนธรรมอิสลาม

จากโครงสรางขางตนแสดงใหเห็นวาวัฒนธรรมอิสลามเกิดจากการผสมผสานระหวางหลักศรัทธา บทบัญญัติ และวิถีชีวิตของผูนับถือ ดวยเหตุนี้วัฒนธรรมอิสลามของแตละกลุมชนจึงมีความแตตางกันขึ้นอยูกับความหลากหลายของผูนับถือ ซึ่งแตละกลุมตางก็พยายามปรับแตงใหเขาวิถีชีวิตดั้งเดิมของตนเองไปพรอมกับความพยายามที่จะรักษาแกนแทของอิสลามเอาไวในเวลาเดียวกัน จากขางตนสรุปไดวา วัฒนธรรมอิสลามเปนวิถีในการดําเนินชีวิตของชาวมุสลิมซึ่งต้ังอยูบนพื้นฐานของหลักศรัทธา บทบัญญัติหรือคําสอนที่มาจากคัมภีรอัลกุรอานและสุนนะฮฺของทาน ศาสนทูตมุฮัมมัด ดังนั้นมุสลิมจึงไมสามารถแยกวิถีชีวิตของตนเองออกจากอิสลามได เนื่องจากศาสนาอิสลามมีลักษณะซึ่งครอบทุกดานของวิถีชีวิตมนุษย เปนทั้งตัวกําหนดและควบคุมสถาบันสังคมและวัฒนธรรมที่เรียกวาวัฒนธรรมทางวัตถุและจิตใจใหเปนไปตามกรอบของอิสลาม ดังน้ันใน

Page 13: บทที่ 2 แนวคิดและทฤษฎ ีที่ ...dc.oas.psu.ac.th/dcms/files/04625/Chapter2.pdf · 2016. 10. 14. · วัฒนธรรมทางป

29

ทุก ๆ แงมุมของวิถีชีวิตมุสลิมต้ังแต การเดิน การน่ัง การนอน ตลอดจนการเมือง การปกครอง การศึกษา การแพทย เศรษฐกิจ อุตสาหกรรม จะถูกกําหนดดวยคําวาอิสลามท้ังส้ิน 2.2 การแพรขยายของศาสนาอิสลามในเอเชียตะวนัออกเฉียงใต หลักฐานประวัติศาสตรชี้วาศาสนาอิสลามแพรขยายเขามาในเอเชียตะวันออกเฉียงใตโดยอาศัยเสนทางการคาทางทะเลซึ่งดําเนินมาตั้งแตยุคโบราณ โดยนักเผยแผศาสนาอิสลามไดเดินทางรวมไปกับพวกพอคา จากเมืองทาชายฝงทะเลอาหรับ ไปสูรัฐคุชราตทางชายฝงตะวันตก และเมืองชายฝงของรัฐเบงกอล ดานตะวันออกของอินเดีย และเมืองทาที่สําคัญอื่น ๆ ในเอเชียตะวันออกเฉียงใตโดยเร่ิมจากเมือง เปอรลัก ปาไซและเมืองสมุทร จากนั้นตอไปยังเมืองตาง ๆ ตามบริเวณชายฝงของแหลมมลายู สภาพของภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใตในขณะที่ศาสนาอิสลามแพรขยายเขาไปในระยะแรก ๆ จากหลักฐานทางโบราณคดี ประวัติศาสตร บันทึกการเดินทาง และตํานานพื้นเมือง อาจจะประมวลภาพกวาง ๆ ไดวา เมืองทาบริเวณชายฝงทะเลที่เปนศูนยกลางการคามีลักษณะเปนนครรัฐ ซ่ึงมีขนาด ความสําคัญ และขอบเขตของอํานาจเหนือรัฐอื่น ๆ โครงสรางและเผาพันธุ ภายใตการปกครองของหัวหนาเผา การที่รัฐหนึ่งจะมีอํานาจเหนือรัฐอื่น ๆ ในระบบจักรวรรดิคงจะพัฒนาขึ้นภายหลัง (D.G.E. Hall, 1976 : 305) ศาสตราจารยเบนดาไดกลาวถึงโครงสรางของระบบการเมืองหรือรัฐประศาสนโยบาย (Polity) ที่มีอยูในดินแดนของเอเชียตะวันออกเฉียงใตในยุค “คลาสสิก” ซึ่งอยูในระหวางคริสตศตวรรษที่ 4-14 ที่ มีความแตกตางที่ เ ห็นไดชัดวามีอยู 2 ระบบ คือ ระบบการเมืองเกษตรกรรมที่อาศัยพลังน้ําบริเวณแผนดินที่อยูภายใน (Inland-Agrian Hydraulic Protype) และระบบการเมืองการคาพาณิชย บริเวณชายฝงทะเล (Riparian or Coastal Commercial Prototype) (สุเทพ สุนทรเภสัช, 2548 : 100) สวนพื้นฐานทางดานศาสนาในเอเชียตะวันออกเฉียงใต ไมวาจะเปนในบริเวณหมูเกาะหรือแผนดินใหญ กอนที่ศาสนาอิสลามจะขยายเขามามีโครงสรางที่มีลักษณะงาย ๆ คือมีระบบความเชื่อในเร่ืองคติเชื่อถือผีสางเทวดา (Animism) เก่ียวกับธรรมชาตินิยม (Animatism) และวิญญาณบรรพบุรุษ (Ancestor’s Spirit) องคกรทางศาสนายังไมแพรหลายในหมูประชากรสวนใหญในชนบท สําหรับชนชั้นปกครองที่อยูในบริเวณเมืองนั้น ต้ังแตในระยะตน ๆ ของคริสตศตวรรษ จะมีคติความเชื่อทางศาสนาและอุดุมการณที่มีความสัมพันธอยางลึกซ้ึงกับชนชั้นปกครอง และมีโครงสรางท่ีซับซอน เนื่องจากการเผยแผศาสนาถูกจํากัดเพียงในราชวัง (สุเทพ สุนทรเภสัช, 2548 : 102)

Page 14: บทที่ 2 แนวคิดและทฤษฎ ีที่ ...dc.oas.psu.ac.th/dcms/files/04625/Chapter2.pdf · 2016. 10. 14. · วัฒนธรรมทางป

30

ในดินแดนที่ไดรับอิทธิพลจากอินเดีย ระบบความเชื่อทางพุทธศาสนาจะปรับตัวหรือไมก็เขาไปรวมกับความเชื่อของศาสนาพราหมณ อันเปนที่ยอมรับของชนชั้นนําที่อยูในราชสํานักโดยรอบ กษัตริยถือวาเปนตัวแทนของเทพเจาตามคติความเชื่อของฮินดู หรือไมก็ถือวาเปนพระพุทธเจากลับชาติมาเกิดตามความเชื่อของพุทธศาสนา และที่สําคัญศาสนาพราหมณและพุทธศาสนาไดกลายเปนศาสนาของราชสํานัก ซ่ึงตัวแทนของศาสนามักจะเขารวมกลุมกับผูมีอํานาจทางการเมือง ดังนั้น ศาสนาที่เปนทางการอยางแทจริงก็คือศาสนาของราชสํานัก ซ่ึงชาวบานถูกบีบบังคับใหตองเขารวมพิธีกรรมทางศาสนาที่เกิดขึ้นรอบ ๆ ตัว กษัตริยผูมีฐานะเปนเทวราช (God-King) ในขณะที่ชาวนาซึ่งเปนประชากรสวนใหญก็ยังคงดําเนินชีวิตอยูบนพื้นฐานของความเชื่อผีและวิญญาณตอไปในอาณาบริเวณที่อยูโดยรอบเมือง การขยายตัวของศาสนาอิสลาม ในเอเชียตะวันออกเฉียงใตน้ันเปนผลมาจากปจจัยดานการคา และการปกครองเปนหลัก ดังจะเห็นไดในกรณีของรัฐสุลตานเปอรลักและรัฐสุลตาน สมุทราปาไซ ซ่ึงเปนรัฐอิสลามสรางโดยพอคาตางชาติ จากอียิปต โมร็อกโก และคุชราต ซ่ึงอาศัยอยูในแถบนั้นและตอมาไดแตงงานกับหญิงชาวเมือง ซ่ึงเปนบุตรีของมาราหเปอรลัก จากการแตงงานดังกลาว มีบุตรชายชื่อสัยยิด อับดุลอะซีซ เปนสุลตานองคแรกของเมืองเปอรลัก หลังจากถูกแตงต้ังเปนสุลตานเปอรลัก ก็ทรงเปลี่ยนพระนามเปนอะลาอุดดีน ชาฮฺ พระองคเร่ิมปกครองเมืองต้ังแตป ค.ศ. 1161 จนถึงป ค.ศ. 1186 ซึ่งกอนน้ันเมืองเปอรลักปกครองโดยราชาที่สมญานามวา มาราห3 ตอมาในภายหลังจากไดกอต้ังรัฐสุลตานเปอรลัก การมาเยือนของพอคาตางเมืองยังคงเปนไปอยางตอเนื่องนับตั้งแตป ค.ศ. 1028 เปนตนมา การแยงชิงอํานาจของราชวงศสัยยิด อับดุลอะซีซ และ ราชวงศมาราหเปนการแยงชิงอํานาจระหวางราชวงคตางเมืองกับราชวงศพื้นเมือง โดยมีจุดมุงหมายคือ ผลผลิตพริกที่สุลตานเปอรลักครอบครองอยู และสงขายโดยผานเมืองเปอรลัก จากบันทึกของนักเดินทางชาวอาหรับและชาวจีน ระบุวา การปลูกพริกที่เมืองอาเจะหไดเปนที่รูจักมาต้ังแตศตวรรษที่ 9 เมืองนัมโปลี เปอรลัก ลามูลี และสมุทรา พริกเมืองอาเจะหนั้น เดิมทีนําเขาจากเมืองมาลากาสี ผลิตผลพริกจากเมืองมาลากาสีใชเปนสินคาสงออกโดยพอคาชาวอาหรับและเปอรเซียในตลอดริมชายฝงเอเชียและทวีปยุโรป ตอมาพอคาเปอรเซียและอาหรับไดนําสินคาพริกและทดลองปลูกในเมืองอาเจะห และเปอรลัก จากนั้นทั้งสองเมืองดังกลาวจึงถูกใชสงออกพริกทําใหไดผลกําไรมหาศาล ทําใหบรรดาพอคาตางเมืองจากอียิปต เปอรเซียและคุชราต ที่มาจอดเทียบทาเมืองเปอรลัก ซ่ึงกาลตอมาไดต้ังรกรากอยูท่ีนั่น ตองการครอบครองผลผลิตพริกท้ังหมด

3 มาราห หมายถึง ราชา

Page 15: บทที่ 2 แนวคิดและทฤษฎ ีที่ ...dc.oas.psu.ac.th/dcms/files/04625/Chapter2.pdf · 2016. 10. 14. · วัฒนธรรมทางป

31

นอกเหนือจากสุลตานเปอรลักที่ต้ังอยูชายฝงตะวันออกของสุมาตราเหนือแลว ยังมีรัฐสุลตานอื่น ๆ อีกซึ่งปกครองโดยแมทัพเรือจากราชวงศฟาฏิมิยะฮฺแหงเมืองอียิปต4 นั่นคือ รัฐสุลตานปาไซ ซ่ึงต้ังอยูบริเวณปากน้ําปาไซ ถูกสถาปนาขึ้นโดยราชวงศฟาฏิมียะฮฺแหงเมืองอียิปตในป ค.ศ. 1128 โดยการนําของแมทัพเรือ นาซีมุดดีน อัลกามิล สาเหตุที่ไดกอต้ังสุลตานปาไซแหงราชวงศฟาฏิมียะฮฺ นั่นก็คือ ราชวงศฟาฏิมียะฮฺ ตองการครอบครองเครื่องเทศที่อยูในแถบชายฝงสุมาตราตะวันออกทั้งหมด ราชวงศฟาฏิมียะฮฺจึงสงทหารมาตีเมืองทาเคมเบยที่แควนคุชราต เพื่อผานไปเปดเมืองทาปาไซ ในที่สุดสามารถเปดเมืองปาไซไดสําเร็จและไดยึดพื้นที่ปลูกพริก ในเมืองกัมปารกานัน กัมปากีรี และเมืองมีนังกาเบา เมืองทาปาไซนั้นถูกใชเปนเมืองทาสําคัญเพื่อสงออกพริก สวนเมือง คุชราตนั้นถูกใชเปนศูนยกลางการคาพริกท่ีสงมาจากแถบแมน้ํากัมปาร ซึ่งทํากําไรใหแกราชวงศฟาฏิมียะฮฺอยางมากมายมหาศาล จนกระทั่งกลายเปนราชวงศที่รํ่ารวยในที่สุด ตอมาเม่ือราชวงศฟาฏิมียะฮฺลมสลาย ราชวงศมัมลูกเร่ิมปกครองเมื่อป ค.ศ. 1285 ไปจนถึงป ค.ศ. 1522 อันที่จริงราชวงศมัมลูกเองก็ตองการครอบครองการคาเคร่ืองเทศเชนเดียวกับราชวงศฟาติมียะฮฺ ในป ค.ศ. 1284 ราชวงศมัมลูกไดสงชัยคฺอีสมาอีลมายังชายฝงตะวันออกเมือง สุมาตรา พรอมดวยฟากีร มุฮัมมัด ซ่ึงเปนอุละมาอแถบชายฝงตะวันออกของอินเดีย เพื่อท่ีจะทําลายอิทธิพลชีอะฮฺใหหมดไปพรอมทั้งถายโอนอํานาจจากเมืองทาปาไซ ในสมุทรปาไซ พวกเขาไดพบกับมาราหซีลู ซ่ึงไดแฝงตัวอยูกับกองทัพปาไซโดยใชชื่ออิสกันดารมาลิก ชัยคฺอิสมาอีล ประสบสําเร็จในการเกล้ียกลอมมาราหซีลูพรอมผูติดตามคือซิดดิกอาลี ชีอาตุดดีน และซิดดิก อาลี หะสะนุดดีน ใหนับถือศาสนาอิสลามมัซฮับชาฟอีย5 ในเวลานั้นมาราหซีลูเองสามารถอานคัมภีรอัลกรุอานไดแลวและไดเขานับศาสนาอิสลามนิกายชีอะฮฺ ดังนั้นดวยความชวยเหลือจากราชวงศมัมลูกจากอียิปต ทําใหมาราหซีลูถูกแตงต้ังเปนสุลตานเมืองสมุทรา โดยชัยคฺอิสมาอีล และมีสมญานามใหมวา มาลิก อัศศอลิหฺ นอกจากนั้นเมืองสมุทราซึ่งต้ังอยูบนปากแมน้ําปาไซแถบชายฝงตะวันออกของเมืองสุมาตรา หันสูชองแคบมะละกายังเปนนครคูแขงสําคัญของอาณาจักรปาไซ และเปอรลัก ซ่ึงนับถือศาสนาอิสลามนิกายชีอะฮฺอีกดวย (Slamet Mujana, 2006 : 134) สุลตานมาลิก อัศศอลิหฺ ถูกแตงต้ังโดยชัยคฺอิสมาอีล เปนสุลตานนครสมุทราปาไซ โดยใชชื่อชะรีฟ มักกะฮฺ ซ่ึงถูกขับไล จากเมืองแบกแดด ไปยังอียิปต ต้ังแตป 1258 เน่ืองจากการโจมตีของกองทัพมองโกล การแตงต้ังมาราหซีลู โดยชัยคฺอิสมาอีลใหเปนสุลตานองคแรกแหงนคร

4 ราชวงศฟาฏิมียะฮฺถูกสถาปนาขึ้นโดยอุบัยดฺ บิน อับดิลลาฮฺ ในป ค.ศ. 976 ราชวงศน้ีมีอํานาจปกครองไปจนถึงป ค.ศ. 1168 และภายหลังไดถูกพิชิตโดยกองทัพของเศาะลาหุดดีน อัลอัยยูบีย ซ่ึงนับถือศาสนาอิสลามมัซฮับชาฟอีย จากการที่ราชวงศฟาฏิมียะฮฺแหงเมืองอียิปตลมสลาย ทําใหความสัมพันธระหวางสุลตานปาไซกับเมืองอียิปตสิ้นสุดลง ในปคริสตศักราชท่ี 1168 ราชวงศปาไซถูกปกครองโดยแมทัพเรือกัฟรอวี อัลกามิล 5 มัซฺฮับ หมายถึง สํานักคิดเกี่ยวกับขอบัญญัติทางศาสนาอิสลาม ซ่ึงมีท้ังหมด 4 มัซฮับ ไดแก ชาฟอีย หะนาฟย มาลิกีย และฮันบาลีย

Page 16: บทที่ 2 แนวคิดและทฤษฎ ีที่ ...dc.oas.psu.ac.th/dcms/files/04625/Chapter2.pdf · 2016. 10. 14. · วัฒนธรรมทางป

32

สมุทราปาไซ ที่นับถือศาสนาอิสลามสายชาฟอียนั้นตั้งอยูบนพื้นฐานสามประการคือ ประการแรก ราชวงศมัมลูกตองการผูท่ีเปนคนในพื้นที่ท่ีแข็งแกรงและนับถือศาสนาอิสลามสายชาฟอีย ประการที่สอง ตามความเห็นของชัยคฺอิสมาอีลนั้น มาราหซีลู สามารถกําจัดอิทธิพลของนิกายชีอะฮฺใหหมดไปจากริมฝงสุมาตราได ประการที่สาม ราชวงศมัมลูกหวังวามาราหซีลู สามารถคุมอํานาจการคาเครื่องเทศโดยเฉพาะพริกซึ่งอยูในอํานาจของพอคาเปอรเซีย อาหรับและคุชราตที่นับถือศาสนาอิสลามนิกายชีอะฮฺได ตลอดเวลาที่สุลตานมาลิก อัศศอลิหฺ ครองอํานาจที่สมุทราปาไซนั้นชาวชีอะฮฺไดทยอยเขารับนับถือศาสนาอิสลามมัซฮับชาฟอียกันมากขึ้นเนื่องจากคํานึงถึงผลประโยชนเปนหลัก อนึ่งสมัยการปกครองของสุลตานมาลิก อัศศอลิหฺนั้น เมืองสมุทราปาไซไดรับการเยือนจากมารโคโปโล เมื่อปคริสตศักราชที่ 1292 ในการเดินทางจากเมืองจีนสูเปอรเซีย ตอมาในสมัยการปกครองของสุลตานอะหฺมัด บาฮียัน ชาฮฺ มาลิก อัฏฏอฮิรฺ เมืองสมุทราปาไซไดรับการเยือนจาก อิบนุ บัฏฏเฏาะฮฺนักเดินทางชาวโมร็อกโก ในปคริสตศักราช 1345 ระหวางการเดินทางกลับจากจีน ครั้นในปคริสตศักราช 1339 ปลายสมัยปกครองของสุลตานอะหฺมัด บาฮียัน ชาฮฺ เมืองสมุทราปาไซถูกโจมตีโดยกองทัพมัชปาหิต ซ่ึงนําโดยปาติห อามังกูบูมี ฆาญะฮฺ มาดา ถือเปนการส้ินสุดราชวงศ และส่ิงสําคัญอีกประการหนึ่งท่ีเก่ียวของกับการแพรขยายของศาสนาอิสลามบนคาบสมุทรมลายู คือ บุตรีของสุลตานซัยนุลอาบิดีน บาฮียัน ชาฮฺ ไดอภิเษกสมรสกับราชาปรเมศวร ซ่ึงเปนผูสถาปณาอาณาจักรมะละกา ในป ค.ศ. 1404 ผลจากการอภิเษกครั้งนั้น ทําใหราชาปรเมศวรเขารับนับถือศาสนาอิสลามมัซฮับชาฟอีย ตอมาอาณาจักรมะละกาก็ไดกลายเปนศูนยกลางการเผยแผศาสนาอิสลามมัซฮับชาฟอียไปท่ัวพื้นชายฝงทั้งตะวันตก และตะวันออกของคาบสมุทรมลายู นอกจากนี้เมื่อเขาสูคริสตศตวรรษที่ 14 และ 16 ศาสนาที่สําคัญของโลกสองศาสนาไดแพรขยายเขามาในเอเชียตะวันออกเฉียงใต ไดแกศาสนาคริสตนิกายคาทอลิก ซ่ึงถูกนํามาโดยชาวสเปนในบริเวณหมูเกาะฟลิปปนส และศาสนาอิสลามท่ีพวกพอคาและนักเดินทางชาวมุสลิมนําเขามายังเมืองทาบริเวณริมฝงทะเลท่ีอยูตามเสนทางการคาของอินเดียและเอเชียตะวันออกเฉียงใต ความจริงในเมืองทาชายฝงทะเลจะประกอบดวยชนหลายชาติหลายภาษา ซ่ึงนอกจากจะมีผูนับถือศาสนาอิสลามทั้งนิกายสุนนีและชีอะฮฺแลว ก็ยังมีศาสนาคริสต ท้ังนิกายคาทอลิกและเนสตอเรียน (Nestorian) ศาสนาขงจื้อ ศาสนาจูดาย ศาสนาฮินดู รวมทั้งพุทธศาสนานิกายตาง ๆ ซึ่งเปนคติความเชื่อที่แพรกระจายเขามาในหมูพอคา นักเดินทาง และประชาชนทั่วไปตั้งแตในชวงแรก ๆ ของคริสตศตวรรษแลว แตคติความเชื่อของศาสนาฮินดูและพุทธศาสนานิกายมหายานดูจะเปนเร่ืองที่ยอมรับอยูในราชสํานัก พวกที่นับถือศาสนาอิสลามและศาสนาคริสตเม่ือเขามาในระยะแรก ๆ ไดรับการยอมรับในฐานะชนกลุมนอยทางการคา โดยท่ีผูปกครองเองก็ไมไดคาดหวังวาคนเหลานี้จะทําการเผยแผศาสนาหรือชักจูงใหเขาศาสนาแตอยางใด แตเมื่อเวลาผานไปผูที่มีความรูทางศาสนาอิสลามก็คอย ๆ ไดรับการยอมรับ และมีโอกาสไดเขาไปเปนที่ปรึกษาทางการเมืองและทางจิตวิญญาณของเจา

Page 17: บทที่ 2 แนวคิดและทฤษฎ ีที่ ...dc.oas.psu.ac.th/dcms/files/04625/Chapter2.pdf · 2016. 10. 14. · วัฒนธรรมทางป

33

เมือง ตลอดจนพอคาและประชาชนโดยทั่วไป โดยคลิฟฟอรด เกียรตซ (Clifford Geertz) ไดต้ังขอสังเกตถึงการเขามาของศาสนาอิสลามในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใตวา มีลักษณะเชนเดียวกับในประเทศอินเดีย เปอรเซีย และโมร็อกโก กลาวคือ เน่ืองจากศาสนาอิสลามเปนศาสนาที่เขามาทีหลัง สูดินแดนที่มิไดมีอารยธรรมแบบอาหรับแตเปนอาณาบริเวณที่ศาสนาฮินดูและพุทธศาสนาลงรากเปนปกแผนมั่งคงอยูกอนแลว การแพรขยายของศาสนาอิสลามเขาไปในหมูคนพื้นเมืองจึงเปนไดดวยความยากลําบากอยางชา ๆ และในที่สุดก็สามารถเขาแทนในความเชื่อด้ังเดิมไดเพียงบางสวนเทาน้ัน แมวาศาสนาอิสลามจะแพรขยายเขามาในเอเชียตะวันออกเฉียงใต และเปนที่ยอมรับมาตั้งแตคริสตศตวรรษที่ 13 จนถึงคริสตศตวรรษที่ 16 แตความเชื่อด้ังเดิมที่มีอยูก็มิไดหมดไป หากยังคงหลงเหลืออยูโดยการเขาไปผสมผสานระบบความเชื่อที่เรียกรวม ๆ วา “อิสลาม” (สุเทพ สุนทรเภสัช, 2548 : 102-103) ความสําเร็จในการเผยแผศาสนาอิสลามบนแหลมมลายูเกิดขึ้นระหวางศตวรรษที่ 15-17 กลาวคือในศตวรรษที่ 15 มะละกาไดยอมรับนับถือศาสนาอิสลามและกลายเปนเมืองบนแหลมมลายูฝงตะวันออกของสุมาตรา ซ่ึงเปนเสนทางการคาเคร่ืองเทศ จนถึงบริเวณตอนเหนือของชวาและมาลูกู และอีกเสนหนึ่งไปถึงแควนบรูไนและมะนิลา ในราว ค.ศ. 1527 แควนมัชปาหิตซึ่งเปนแควนฮินดูในชวาไดตกอยูภายใตอิทธิพลของผูนับถือศาสนาอิสลาม รัฐอิสลามที่เปนปกแผนมีความสําคัญของยุคน้ีไดแก อาเจะห ยะโฮร ปะตานี บานตัน และเตอรนาเต6 โดยศาสนาอิสลามไดแพรขยายจากบริเวณชายฝงทะเลเขาไปสูบริเวณดินแดนภายใน นอกจากนี้ยังมีหลักฐานที่แสดงวาบรรดารัฐที่นับถือศาสนาอิสลามไดใชภาษามลายูมาตั้งแต ค.ศ. 1590 ในตอนตนคริสตศตวรรษที่ 16 ตามตํานานพื้นเมือง ผูปกครองของเมืองปะตานีไดยอมรับนับถือศาสนาอิสลาม ตํานานไดบันทึกไววา “ผูปกครองไดเลิกนับถือเทวรูปและการบริโภคเนื้อสุกร แตนอกจากนั้นแลวก็มิไดเลิกนิสัยของผูที่ไมไดนับถือศาสนา (อิสลาม) อ่ืน ๆ (Teeuw and D.K. Wyatt, 1970 : 75) ซ่ึงเทวรูปในที่นี้นาจะหมายถึงเทวรูปตามความเชื่อของศาสนาฮินดูที่ชาวพื้นเมืองไดรับอิทธิพลมาจากภายนอก เมื่อคร้ังท่ีระบบความเชื่อของอินเดียแพรขยายเขามา ในตํานานยังกลาวอีกวา ผูสืบเชื้อสายจากผูปกครองคนเดิมซึ่งเปนสตรีไดสรางมัสยิดขึ้นเปนแหงแรก และประชาชนสวนใหญไดพากันเลิกการบริโภคเนื้อสุกรและการบูชารูปเคารพ นอกจากนั้นแลวยังคงมีการเซนสรวงตนไมและภูตผีตาง ๆ อยูอยางเดิม เก่ียวกับสภาพของการยอมรับนับถือศาสนาอิสลามของคนพื้นเมืองในยุคตน ๆ น้ี อาบู มาญิด ผูบุกเบิกศาสนาอิสลามท่ีมีชื่อเสียง ไดบันทึกไวดวยความไมพึงพอใจนักวา “พวกเขาชางไมมีวัฒนธรรมเสียเลย คนนอกศาสนาแตงงานกับผูหญิงมุสลิม ขณะที่ผูชายมุสลิมก็เอาคนไมมีศาสนามาเปนภรรยา คนพวกนี้คือโจรมีการลักขโมยในพวกเดียวกันโดยไมมี

6 เตอรนาเต (Ternate) ชื่อเมืองทางตอนเหนือบนเกาะมาลูก ู

Page 18: บทที่ 2 แนวคิดและทฤษฎ ีที่ ...dc.oas.psu.ac.th/dcms/files/04625/Chapter2.pdf · 2016. 10. 14. · วัฒนธรรมทางป

34

ผูใดสนใจไยดี ชาวมุสลิมบริโภคเนื้อสุนัข เพราะไมมีขอหามในการบริโภคอาหาร พวกเขาพากันดื่มเหลาในตลาด และไมถือวาการหยารางเปนเร่ืองของศาสนา” อยางไรก็ตามเมื่อมาถึงตอนปลายคริสตศตวรรษที่ 16 ปรากฏหลักฐานที่บงชัดวาคนจํานวนมากทั้งในเมืองและชนบท รวมไปถึงบริเวณชายฝงและหมูเกาะในเอเชียตะวันออกเฉียงใตไดหันมายอมรับนับถือศาสนาอิสลาม ปฏิเสธที่จะมีชีวิตแบบดั้งเดิม เลิกบริโภคเนื้อสุกร ยอมรับเครื่องแตงกายและแบบคารวะ ตลอดจนพิธีกรรมของศาสนาอิสลาม ที่สําคัญคนกลุมนี้ถือวาตนเปนสวนหนึ่งของประชาคมมุสลิม (’Ummah ’Islāmīyah) ฉะน้ันแนวคิดที่วา ศาสนาอิสลามมีความเปนปกแผนมั่นคงเฉพาะในบริเวณเมืองทาชายทะเล และในบริเวณเมืองหลวงเทานั้นก็ไมเปนความจริงอีกตอไป เพราะเมื่อมาถึงสมัยนี้ ตํานานพื้นเมืองของปตตานีเองก็ยังบันทึกไววา ในสมัยของสุลตานมุซอฟฟร ชาห ค.ศ. 1564 ศาสนาอิสลามไดแพรขยายเขาไปถึงบริเวณชนบทและเลยเขาไปถึงโกตามะหลีฆัย ซ่ึงอยูหางจากชายฝงทะเลออกไป 14 กิโลเมตร (Teeuw and D.K. Wyatt, 1970 : 78-79) 2.3 ทฤษฎีการเขามาของอิสลามสูภูมิภาคมลายู7 สงครามระหวางมัชปาหิตกับศรีวิชัยเปนสงครามที่เต็มไปดวยความทารุณ และแมวามัชปาหิตจะเปนฝายชนะอยางส้ินเชิง แตพืชแหงการรบราฆาฟนกันใหมก็ไดถูกเพาะหวานลงไปดวย จากซากอันปรักหักพังแหงอํานาจของพวกไศเลนทร และรวมทั้งจากมูลเหตุอ่ืนดวย โดยเฉพาะก็คือ เพราะพวกอาหรับและประชาชนที่หันไปนับถือศาสนาอิสลาม พวกมลายูไดมีอํานาจขึ้นในสุมาตราและมะละกา อํานาจการควบคุมทะเลตะวันออก ซ่ึงเคยอยูในกํามือของอินเดียใต หรือไมก็อยูในกํามือของอาณานิคมอินเดียมาเปนเวลาชานาน บัดนี้ไดตกอยูในมือของพวกอาหรับเสียแลวมะละกาไดมีชื่อเสียงเดนขึ้นในฐานะเปนศูนยกลางการคาและเปนที่ต้ังของอํานาจทางการเมือง และโดยประการฉะนี้ ศาสนาอิสลามก็เร่ิมแผไปตามแหลมมลายู และหมูเกาะใกลเคียง อํานาจใหมที่เกิดขึ้นนี้เอง ในท่ีสุดไดนําความสิ้นสุดมาสูมัชปาหิตในตอนปลายศตวรรษที่ 15 (ยวาหระลาล เนหรู, 2537 : 393-394) การเขามาของอิสลามไดเปล่ียนเข็มทิศของศูนยอารยธรรมมลายูไปยังเมืองตาง ๆ เชน มะละกา จัมบี อาเจะห และปะตานี บรรดานักวิชาการไดนําเสนอทฤษฎีตาง ๆ เพื่อเชื่อมโยงการเขามาของอิสลามยังคาบสมุทร และหมูเกาะมลายู โดยมี 3 ทฤษฎีหลัก คือ ทฤษฎีที่มาจากอินเดีย จีน และอาหรับ 7 ภูมิภาคมลายู (Nusantara) ประกอบดวย แหลมมลายู และหมูเกาะมลายู

Page 19: บทที่ 2 แนวคิดและทฤษฎ ีที่ ...dc.oas.psu.ac.th/dcms/files/04625/Chapter2.pdf · 2016. 10. 14. · วัฒนธรรมทางป

35

2.3.1 ทฤษฎีอิสลามมาจากอินเดีย ทฤษฎีการเขามาของอิสลามสูภูมิภาคมลายู โดยบรรดาพอคาชาวอินเดียไดเสนอโดยนักบูรพาคดีชาวตะวันตก เชน สนุก ฮอครอนเจ (Snouck Horgronje) และ เบรน แฮรริสัน (Brain Harrison) กลาววา สังคมในภูมิภาคมลายูเห็นวาอินเดียเปนแหลงที่สามารถจะใหความชวยเหลือและใหคําแนะนํา คําส่ังสอนชี้แนะปญหาทางศาสนาได จากที่ทั้งสองฝายมีการติดตอสัมพันธกันนั่นเอง ผูคนในภูมิภาคมลายูรูสึกสนใจและชอบศาสนาอิสลามที่พอคาชาวอินเดียนับถืออยู นักวิจัยบางทานอยางเชน แจสโซลิน เดน จอง (Jassolin Den Jong)นักบูรพาคดีไดระบุสถานที่เริ่มตนของการเผยแผอิสลามวา การเผยแผอิสลามเขาสูภูมิภาคมลายูกระทําโดยพอคาชาวคุชราต ทฤษฎีที่วาอิสลามมาจากคุชราตนี้ถูกนําเสนอขึ้นมาโดยอาศัยหลักฐานตาง ๆ ที่บงบอกถึงความเหมือนกันของสังคม วัฒนธรรมของชาวมลายูกับสังคมวัฒนธรรมของชาวอินเดีย รวมถึงการคนพบหินบนหลุมฝงศพ เชน หินบนหลุมฝงศพของสุลตานมาลิก อัซซอและห กษัตริยองคแรกแหงเมืองสมุทราปาไซ ซึ่งระบุป ค.ศ. 1297 หินบนหลุมฝงศพนี้ไดมีการอางวาเปนหินที่นํามาจากเมือง คุชราตเพราะหินทั้งสองแหงน้ีมีรูปรางลักษณะเหมือนกัน (D.G.E. Hall, 1987 : 253) ซ่ึงชวยสนับสนุนใหทฤษฎีน้ีนาเชื่อถือมากยิ่งขึ้น โธมัส อารโนลด (Thomas Arnold) ไดกลาววาอิสลามท่ีไดมาถึงเอเชียตะวันออกเฉียงใตเปนคําสอนในมัซฮับชาฟอีย เหมือนกับสังคมมุสลิมมาลาบารในอินเดีย และไดปฏิเสธแนวคิดท่ีวาอิสลามมาจากเมืองคุชราต เพราะสังคมมุสลิมคุชราตเปนผูท่ีปฎิบัติตามมัซฮับฮานาฟย อีกทั้งชวงเวลาที่คุชราตรับอิสลามชากวารัฐปาไซ กลาวคือ เอเชียตะวันออกเฉียงใตรับศาสนาอิสลามในป ค.ศ. 1042 สวนคุชราตรับอิสลามในยุคของสุลตานแหงเดลฮี ชวงป ค.ศ. 1302 (อิสมาอีล ฮามิด, 2545 : 69) อยางไรก็ตามทฤษฎีตาง ๆ เก่ียวกับการเขามาของอิสลามในภูมิภาคมลายูจากอินเดียน้ันปรากฏวามีขอขัดแยงกับหลักฐานที่ปรากฏตั้งแตคริสตศตวรรษที่ 7 พิสูจนไดจากการคนพบหลักฐานตาง ๆ ในระยะหลังทีแ่สดงถึงความสัมพันธระหวางภูมิภาคมลายูกับโลกอาหรับไดมีมาตั้งแตกอนศาสนทูตมุฮัมมัด จะเผยแผศาสนาอิสลามบนคาบสมุทรอาหรับ 2.3.2 ทฤษฎีอิสลามมาจากจีน นอกจากทฤษฎีอิสลามเขาสูภูมิภาคมลายูโดยผานมาทางอินเดียแลวยังมีทฤษฎีท่ีวาอิสลามมาจากจีน ตามประวัติศาสตรพบวาอิสลามมาสูเมืองจีนในสมัยการปกครองราชวงศถัง นั่นคือ

Page 20: บทที่ 2 แนวคิดและทฤษฎ ีที่ ...dc.oas.psu.ac.th/dcms/files/04625/Chapter2.pdf · 2016. 10. 14. · วัฒนธรรมทางป

36

ในราวป ค.ศ. 650 และมีนักวิชาการหลายทานที่สนับสนุนทฤษฎีอิสลามมาจากเมืองจีน เอ็มมานูเอล โฆดิญโญ เด อีวีเดียร (Emanuel Godinho De Evedia) เลาวาอิสลามมาสูภูมิภาคมลายูจากเมืองจีนโดยผานทางกวางตุงและไหหนานในคริสตศตวรรษที่ 9 (Institut Tadbiran Awam Negara, 1991 : 64-66) ทัศนะนี้เปนท่ีแพรหลายมากขึ้นหลังจากคนพบศิลาจารึกท่ีกัวลาเบอรัง รัฐตรังกานู ทางฝงทะเลตะวันออกของแหลมมลายู ทฤษฎีนี้ไดรับการสนับสนุนจากหลักฐานทางประวัติศาสตรที่แสดงถึงความสัมพันธทางดานการคาระหวางชาวจีนกับบรรดาพอคามุสลิมจากเอเชียตะวันตก (อาหรับ–เปอรเชีย) มาตั้งแตฮิจเราะฮฺศักราชท่ี 3 หรือ คริสตศตวรรษที่ 9 หรืออาจจะกอนหนานั้นดวยซ้ํา คือ ต้ังแตฮิจเราะฮฺศักราชที่ 1 หรือคริสตศตวรรษที่ 7 เสียอีก ตามบันทึกของมัสอูดีย (Mas‘ūdīy) นักประวัติศาสตรชาวอาหรับที่มีชื่อเสียงคนหนึ่ง กลาววา ที่กวางตุงมีพอคามุสลิมราว 200,000 คน ซ่ึงสวนใหญเปนพอคามุสลิมจากคาบสมุทรอาหรับ และเปอรเซีย เอส จี ฟาตีมี (S.G. Fatimi) อธิบายวาอิสลามไดถูกนํามาจากกวางตุงของจีนในปลายศตวรรษที่ 9 ในราวป ค.ศ. 876 การอพยพเคลื่อนยายนี้เกิดขึ้นจากผลของสงครามซึ่งเปนเหตุใหมีคนมุสลิมตองสังเวยชีวิตไปเปนจํานวนมากกวาหนึ่งแสนคน คนมุสลิมที่เหลือไดหลบหนีไปยังภูมิภาคมลายูซ่ึง หะสัน อิบรอฮีม หะสัน (H asan ’Ibrāhīm H asan, 1964 : 2/331) กลาววา หลังจากน้ันชาวอาหรับไดยายสถานีการคาจากกวางตุงมาตั้งที่เมืองกาละฮฺ (เกดะห) บนแหลมมลายู อยางไรก็ตามหลักฐานตาง ๆ ที่สนับสนุนสมมุติฐานของทฤษฎีนี้ยังสามารถโตแยงไดอีกมาก เพราะการเขามาตั้งถ่ินฐานของชาวมุสลิมยังภูมิภาคมลายูมีมากอนระยะเวลาที่ปรากฏ ตามทฤษฎีนี้ รวมทั้งการคนพบหลักฐานใหม ๆ เก่ียวกับการเขามาของอิสลามสูภูมิภาคมลายูท่ีดูเหมือนจะขัดแยงกับหลักฐานที่ไดนําเสนอโดยทฤษฎีขางตน และสมมุติฐานดูจะเปราะบางเพราะหากอิสลามมาถึงเมืองจีนโดยคนอาหรับแลว แนนอนเหลือเกินวาบรรดานักเผยแผชาวอาหรับเหลาน้ันจะตองแวะท่ีภูมิภาคมลายูกอนไปจีน เพราะภูมิภาคมลายูอยูระหวางเสนทางการคาขายระหวางเอเชียตะวันตกกับเอเชียตะวันออกอยูแลว ดังนั้นดวยเหตุผลนี้จึงไมนาที่อิสลามจะไปยังจีนกอนแลวยอนกลับมายังภูมิภาคมลายูในภายหลัง 2.3.3 ทฤษฎีอิสลามมาจากอาหรับ ทฤษฎีการเขามาของอิสลามสูภูมิภาคมลายูโดยนักเผยแผศาสนาอิสลามบรรดาพอคาเศรษฐีชาวอาหรับ เปนทฤษฎีที่สอดคลองกับหลักฐานทางประวัติศาสตรตาง ๆ ที่ไดคนพบรวมทั้งจากบันทึกของนักเดินเรือท้ังหลาย ซ่ึงหากเรามองอยางผิวเผิน จะพบวาความสัมพันธระหวางประชาชนใน

Page 21: บทที่ 2 แนวคิดและทฤษฎ ีที่ ...dc.oas.psu.ac.th/dcms/files/04625/Chapter2.pdf · 2016. 10. 14. · วัฒนธรรมทางป

37

ภูมิภาคมลายูกับชาวอาหรับนั้นมีมานานแลว คือ ต้ังแตกอนยุคอิสลามเรื่อยมาจนถึงการเผยแผอิสลามสูบริเวณนี้จนกระท่ังปจจุบัน จากเอกสารที่ไดมีการคนพบ มีการกลาวถึงชุมชนอาหรับมุสลิมในสุมาตราเหนือที่เรียกวา “Tashih”8 ในป ค.ศ. 650 ชุมชนนี้มีชาวอาหรับที่เขามาในสุมาตราในคริสตศตวรรษที่ 7 อยูอาศัย นอกจากนี้ เอส เอ็ม นากิบ อัลอัตตัส (S.M. Naquib al- Attas) ไดยืนยันวาเน้ือหาของวรรณกรรมมลายูอิสลามที่ประกอบดวยคําศัพทเฉพาะ และแนวคิดรวมทั้งระบบการเขียนอักษรยาวีที่ใชกันอยูในภูมิภาคมลายู แสดงถึงแหลงที่มาของอาหรับหรือตะวันออกกลางเปนตนเหตุ (Hashim Musa, 2001 : 165) จากการวิเคราะหและการคนพบเหลานี้สามารถบอกไดวาการเขามาของอิสลามยังภูมิภาคมลายูไดเกิดขึ้นในคริสตศตวรรษที่ 7 โดยการนําเขามาของพอคาวาณิชและนักเผยแผศาสนาชาวอาหรับ โดยผานเสนทางการคาขายของเอเชียตะวันออกเฉียงใตเพื่อไปยังจีน นอกจากนี้หลักฐานทางประวัติศาสตรระบุวาการรับศาสนาอิสลามของกษัตริยเปอรลัก และสมุทราปาไซเกิดจากการชักชวนของนักเผยแผศาสนาชาวอาหรับ 2.4 องคประกอบของการเผยแผอิสลามในภูมิภาคมลายู การเผยแผอิสลามในสังคมมลายูดําเนินไปอยางสันติ ในประวัติศาสตรการขยายของอิสลามสูภูมิภาคมลายู ไมปรากฏเอกสารหรือบันทึกใด ๆ ท่ีบงบอกถึงการบังคับใหสังคมมลายูท้ังในคาบสมุทรมลายูและเอเชียตะวันออกเฉียงใตนับถือศาสนาอิสลามในขณะเดียวกันก็ไมไดเกิดจากการสงครามเพื่อขยายดินแดน ซ่ึงความสําเร็จของการเผยแผอิสลามในภูมิภาคมลายูมีพื้นฐานจากหลายองคประกอบหลักดังนี้ 2.4.1 องคประกอบดานการคา การคาขายเปนองคประกอบที่สําคัญประการหนึ่งในการเผยแผศาสนาอิสลาม นับตั้งแตกอนอิสลามจนถึงยุคการขยายของอิสลาม ชาวอาหรับเปนชนชาติที่ยึดครองกิจกรรมทางการเดินเรือและการคาขายในละแวกนี้แตเพียงผูเดียว โดยเฉพาะหลังการลมสลายของอาณาจักรมัชปาหิตในเวลาเดียวกันภูมิภาคมลายูก็เปนบริเวณที่อุดมไปดวยทรัพยากรที่สําคัญสําหรับการคาขายซึ่งเปนส่ิง

8 Tashih เปนคําท่ีชาวเปอรเซียใชเรียกชาวอาหรับ ในทํานองเหยียดหยาม

Page 22: บทที่ 2 แนวคิดและทฤษฎ ีที่ ...dc.oas.psu.ac.th/dcms/files/04625/Chapter2.pdf · 2016. 10. 14. · วัฒนธรรมทางป

38

ดึงดูดพอคาชาวอาหรับใหเดินทางมาคาขายในภูมิภาคแหงนี้ โดยมีสินคาที่สําคัญ อาทิ พริกไทย ไมจันทน กํายาน การบูร ลูกจันทนเทศ ดีบุก และแกนกฤษณา เปนตน ส่ิงของเหลานี้สวนใหญถูกใชเปนสวนผสมในการทําน้ําหอม ซ่ึงใชอยางกวางขวางต้ังแตยุคของจักรพรรดิ์ยูเลียส ซีซาร และพระนางคลีโอพัตรา นั้นคือราว ๆ 2000 ป ก.ค.ศ. เมื่อดินแดนอาหรับรับอิสลามดังน้ันพอคาชาวอาหรับก็ไดนําอิสลามไปทั่วทุกแหงที่พวกเขาเดินทางไปคาขาย เพราะอิสลามเองเปนศาสนาแหงการเผยแผอยูแลวและการเผยแผศาสนาก็เปนหนาที่ของผูที่นับถืออิสลาม ดังนั้นจึงไมใชเร่ืองแปลกหากสถานที่แรก ๆ ในภูมิภาคมลายูที่รับศาสนาอิสลามประกอบดวยเมืองทาที่สําคัญ ๆ เชน เปอรลัก ปาไซ อาเจะห มะละกา รวมถึงปะตานี และเมืองอ่ืน ๆ 2.4.2 องคประกอบการแตงงาน การแตงงานของบรรดาพอคาและนักเผยแผศาสนาอิสลามกับหญิงชาวพื้นเมือง หลักฐานเรื่องนี้ไดจากการยืนยันของทอม ปเรส (Tom pires) ที่กลาววา การผสมผสานในหมูเกาะมลายูเกิดขึ้นอยางสงบโดยบรรดาพอคาที่อยูในหลาย ๆ ท่ีดวยการแตงงานกับหญิงทองถ่ิน และส่ิงนี้ก็ไดรับการเห็นดวย เอช เคิรน (H. Kern) ท่ีบอกวาพอคาที่รวยไดแตงงานกับธิดาของนครรัฐ ผูปกครองรัฐที่ตนเองอยูจนในที่สุดก็สามารถครอบงํารัฐตาง ๆ เหลานั้นไดดังการเกิดของรัฐสุลตานเปอรลัก และกลายเปนอาณาจักรอิสลามของมะละกา ดังน้ันการแตงงานจึงถือเปนองคประกอบสําคัญหนึ่งในการเผยแผอิสลามในภูมิภาคมลายู ผลจากการแตงงานก็ทําใหเกิดครอบครัวและสังคมที่นับถืออิสลาม 2.4.3 องคประกอบการเผยแผอิสลาม โดยลักษณะของศาสนาอิสลามแลวดวยตัวของมันเองเปนศาสนาที่ตองเผยแผใหมนุษยไดรับรูและเชิญชวนใหมาสูอิสลาม ดังเชนท่ีทานศาสนทูตมุฮัมมัด ไดดําเนินการเผยแผขึ้นมา ในประวัติศาสตรการแพรขยายของศาสนาอิสลามในภูมิภาคมลายูนั้น บรรดาปราชญอิสลาม (อุละมาอ) และนักเผยแผอิสลาม (ดุอาต) ไดทํางานเพื่อศาสนานี้อยางจริงจังจนเราไมอาจลืมผลงานแหงความอุตสาหะของทานเหลานั้น รวมทั้งการอุทิศตนเองเปนศูนยที่ทําหนาที่เปล่ียนแปลง (Change Agent) และทําใหภูมิภาคมลายูไดรูจักหลักแหงการยึดมั่นตออัลลอฮฺ (อะกีดะฮฺ อิสลา มียะฮฺ) การยึดถือพระเจาเพียงองคเดียวคืออัลลอฮฺ บรรดานักปราชญและผูรูอิสลามแหงภูมิภาคมลายูสามารถเผยแผอิสลามไปท่ัวท้ังภูมิภาคมลายูไดอยางงายดาย ทั้งน้ีเพราะบุคลิกภาพท่ีดีของ

Page 23: บทที่ 2 แนวคิดและทฤษฎ ีที่ ...dc.oas.psu.ac.th/dcms/files/04625/Chapter2.pdf · 2016. 10. 14. · วัฒนธรรมทางป

39

บุคคลเหลานี้ อีกทั้งการยึดมั่นศรัทธาตออิสลามอยางแทจริงไดกลายเปนสวนสําคัญในการสงเสริม และสนับสนุนการสอนอิสลามของพวกเขาดวย ปรากฏการขางตนไดเปนรูปธรรมขึ้นมาอยางชัดเจนเมื่อปรากฏปราชญชั้นนําของภูมิภาคมลายูมาทําการเผยแผคําสอนของอิสลามขึ้น ดังเชน ชัยคฺ อิสมาอีล (Sheikh Ismail) ชัยคฺ อับดุลอะซีซ (Sheikh Abdul Aziz) เมาลานา ยูซุฟ (Maulana Yusuf) และซิดิ อาหรับ (Sidi Arab) แหงมะละกา ในขณะที่อาเจะหมีฮัมซะฮฺ ฟนซูรี (Hamzah Fansūrī) นูรุดดีน อัลรานีรี (Nūrudīn al-Rānīrīy) อับดุลรออูฟ ซิงเกล (Abdul Ra’ūf Singkel) เปนตน อีกทั้งปรากฏวาที่อาเจะหนั้นมีปราชญผูรูอิสลามจํานวน 22 คนที่เปนสมาชิกสภาการประชุมแหงรัฐในชวงการปกครองของสุลตานอิสกันดาร มูดา มะฮฺโกตา อาลัม (Iskandar Muda Mahkota Alam) 2.4.4 องคประกอบทางดานความพิเศษของคําสอนอิสลาม องคประกอบที่ชัดเจนที่สุดเกี่ยวกับการขยายตัวของอิสลามในภูมิภาคมลายูนาจะไดแกความพิเศษของคําสอนของอิสลามเอง อิสลามเขามาดวยการ เชิดชูความเชื่อในพระเจาองคเดียว (หลักเตาฮีด9) และการทําใหจรรยามารยาทของบุคคลใหสมบูรณและสูงสง ดังเชนหะดีษของทานศาสนทูตมุฮัมมัด ที่วา

))أُتل ثْتعا بملاَقِ إِنالْأَخ حالص مم(( ความวา “แทจริงฉันไดถูกสงมาเพื่อทําใหจรรยามารยาทสมบูรณและสูงสง” (บันทึกโดย ’Ah mad, 1991:8595)

นอกจากนี้ศาสนาอิสลามไมเคยบังคับใหปจเจกบุคคลหรือสังคมในภูมิภาคมลายูใหเขารับนับถืออิสลาม อิสลามไมไดแพรกระจายในภูมิภาคมลายูดวยวิธีการสงครามและการลาอาณานิคมตรงกันขามกลับมอบใหบุคคลหรือสังคม พิจารณาวาจะรับหรือไมรับศาสนาอิสลาม ดังตัวบทของอัลกุรอานความวา

9 หลักการใหเอกภาพ 3 ประการคือ 1.ความเปนพระเจา 2. ความเปนพระผูอภิบาล 3. พระนามและคุณลักษณะอันสูงสงของพระองค

Page 24: บทที่ 2 แนวคิดและทฤษฎ ีที่ ...dc.oas.psu.ac.th/dcms/files/04625/Chapter2.pdf · 2016. 10. 14. · วัฒนธรรมทางป

40

® Iω oν#tø.Î) ’Îû È⎦⎪Ïe$!$# ( ‰s% t⎦̈⎫t6̈? ߉ô©”9$# z⎯ÏΒ Äc©xöø9$# 4 ⎯yϑsù öàõ3tƒ

ÏNθäó≈©Ü9$$Î/ -∅ÏΒ÷σãƒuρ «!$$Î/ ωs)sù y7|¡ôϑtGó™$# Íοuρóãèø9$$Î/ 4’s+øOâθø9$#

Ÿω tΠ$|ÁÏΡ$# $oλm; 3 ª!$#uρ ìì‹Ïÿxœ îΛ⎧Î=tæ ⟨

)256: البقرة( ความวา “ไมมีการบังคับใด ๆ (ใหนับถือ) ในศาสนาอิสลาม10 แนนอนความถูกตองน้ันไดเปนท่ีกระจางแจงแลวจากความผิด11 ดังนั้นผูใดปฏิเสธศรัทธาตออัฏฏอฆูต12 และศรัทธาตออัลลอฮฺแลว แนนอนเขาไดยึดหวงมั่นคงไวแลว โดยไมมีการขาดใด ๆ เกิดขึ้นแกมันและอัลลอฮฺนั้นเปนผูทรงไดยินและผูทรงรอบรู” (อัลบะเกาะเราะฮฺ : 256)

อิสลามไดกําเนิดขึ้นดวยการนําเสนอการใหเอกภาพตอพระผูเปนเจา นั้นคือ การศรัทธาตออัลลอฮฺเพียงพระองคเดียว ซ่ึงส่ิงน้ีเปนการเปลี่ยนแปลงความเชื่อของชาวภูมิภาคมลายูซ่ึงกอนหนาน้ีไดนับถือศาสนาฮินดู – พุทธ รวมทั้งเชื่อตอพระเจาที่หลากหลาย โดยผานหลักความเชื่อตออิสลามนี้เองชาวภูมิภาคมลายูไดรับการสั่งสอนใหมีชีวิตท่ีเปนอิสระและปราศจากความเกรงกลัวตอส่ิงใดเวนแตอัลลอฮฺ เทาน้ันดวยคุณลักษณะของอิสลามที่ยืดหยุนนี่เองจึงทําใหสามารถผสมผสานกับวัฒนธรรมของสังคมมลายูที่ฝงอยูในวิถีชีวิตสังคมภูมิภาคมลายูเนิ่นนานแลว บรรดากฎหมาย กฎเกณฑ ขนบธรรมเนียมประเพณีและวิถีการดํารงชีวิตก็ไดถูกปรับใหสอดคลองกับทองที่ เวลา และสถานที่และสถานการณความเหมาะสมเหลาน้ีสามารถดึงความสนใจของผูคนในภูมิภาคมลายูเพื่อใหเขารับอิสลาม องคประกอบนี้ก็ไดรับการสนับสนุนจากลักษณะของอิสลามเองท่ีเปนสากลไมจํากัดกลุม

10 ในภาษาอาหรับ คําวา “ดีน” หมายถึงท้ังความเชื่อและแนวทางแหงชีวิตที่วางอยูบนความเชื่อน้ัน ในท่ีนี้หมายถึง ความเชื่อท่ีไดกลาวไวในอายะฮฺกอนหนานี้ อายะฮฺนี้หมายความวา ความเชื่อของอิสลามและแนวทางแหงชีวิตของอิสลามนั้นมิไดเปนสิ่งท่ีถูกยัดเยียดใหแกใครโดยใชกําลังความจริงแลวเรื่องนี้ไมสามารถท่ีจะบังคับผูใดได (เมาลานา ซัยยิด อบุล อะลา เมาดูดี, 2545 : 198) 11 ในอิสลามนั้นไดเปนท่ีกระจางแจงแลววา อะไรคือสิง่ท่ีถูกและอะไรคือสิง่ท่ีผิด ดวยเหตุน้ีจึงไมมีการบังคับใหผูคนรับนับถือ (สมาคมนักเรียนเกาอาหรับ,1419 : 86) 12 หมายถึง ซาตาน, มารราย

Page 25: บทที่ 2 แนวคิดและทฤษฎ ีที่ ...dc.oas.psu.ac.th/dcms/files/04625/Chapter2.pdf · 2016. 10. 14. · วัฒนธรรมทางป

41

ชน เชื้อชาติและพื้นท่ี แตกลับมีลักษณะที่เปดและใจกวางตอศาสนาและวัฒนธรรมอื่นจึงทําใหเปนจุดเดนใหผูคนหันมายอมรับศาสนาอิสลามมากขึ้น ภายหลังการเขามาของอิสลามไดมีศูนยอารยธรรมมลายูอิสลามเกิดขึ้นหลายแหลงและเปนที่รูจักกันในเอเชียตะวันออกเฉียงใต ศูนยตาง ๆ เหลาน้ีมีบทบาทสําคัญยิ่งตอการสนับสนุนการขยายตัวของศาสนาอิสลามในภูมิภาคมลายู ไดแก เมืองเปอรลัก ปาไซ และอาเจะห ที่สุมาตรา ปะตานี มะละกา บนคาบสมุทรมลายู ซูลู และมินดาเนา ท่ีฟลิปนส ปนจาร มาตารัม ในเกาะชวา บันจาร ท่ีเกาะบอรเนียว จัมปา ท่ีอินโดจีน และอ่ืน ๆ 2.5 แนวคิดเกี่ยวกับคํายมื 2.5.1 ความหมายของการยืมภาษา การยืมภาษา คือการที่ภาษาหน่ึงรับเอาลักษณะใดก็ตามจากอีกภาษาหนึ่งเขามาใช จนกลายเปนลักษณะของตนเอง ซึ่งลักษณะท่ีมีการยืมมีทั้ง ดานเสียง พยัญชนะ สระ วรรณยุกต ทํานองเสียง เสียงเนนหนัก คําทุกประเภท โดยเฉพาะคําหลัก เชน นาม กริยา และลักษณะทางไวยากรณ เชน การแสดงพหูพจน การก และหนวยสรางตาง ๆ เชน ประโยค กรรมวาจก เปนตน (อมรา ประสิทธิ์รัฐสินธุ, 2532 : 23) คริสตัล (Crystal) ใหคําจํากัดความของการยืมภาษาวาหมายถึง การท่ีหนวยทางภาษา (Linguistic Unit) โดยสวนใหญแลวเปนคําของภาษาหนึ่งถูกใชในอีกภาษาหนึ่งหรือในภาษาถ่ินหนึ่ง ซ่ึงกอนหนาน้ันไมไดเปนสวนหนึ่งของภาษานั้น ๆ (อัสสมิง กาเซ็ง, 2544 : 7) จากคําจํากัดความขางตนอาจกลาวไดวา การยืมภาษา หมายถึง การที่ภาษาหนึ่งรับเอาลักษณะใดก็ตามจากอีกภาษาหนึ่งเขามาใชในภาษาของตน ซ่ึงสวนใหญปรากฏในรูปของคํายืม สวนคํายืม หมายถึง คําภาษาตางประเทศที่นําเขามาใชในภาษา ซ่ึงอาจยืมมาโดยตรง โดยการแปล หรือโดยการเลียนแบบแนวคิดที่มาจากภาษาอื่น (Hartman & Stork, 1972 : 134) 2.5.2 แนวคิดเรื่องการสัมผัสภาษา การยืมคําน้ันเกิดขึ้นภายใตสภาพแวดลอมของการสัมผัสทางภาษา ซ่ึงมีแนวคิดดังน้ี อมรา ประสิทธิ์รัฐสินธุ, (2532 : 31-32) ไดนิยามการสัมผัสภาษาวาหมายถึง ปรากฏการณท่ีคนใดคนหนึ่งพูดไดหลายภาษาและสามารถใชภาษาเหลาน้ันสลับกันไปมาได ทําให

Page 26: บทที่ 2 แนวคิดและทฤษฎ ีที่ ...dc.oas.psu.ac.th/dcms/files/04625/Chapter2.pdf · 2016. 10. 14. · วัฒนธรรมทางป

42

ภาษาหลายภาษามีอิทธิพลซ่ึงกันและกัน และการยืมภาษาก็เปนปรากฏการณหนึ่งในหลายๆปรากฏการณที่เกิดจากการสัมผัสภาษา คริสตัล (Crystal) ไดอธิบายเกี่ยวกับการสัมผัสภาษาวา การสัมผัสภาษาเปนปรากฏการณทางภาษาอยางหนึ่งซ่ึงเปนสถานการณของความตอเน่ืองทางภูมิศาสตร หรือความใกลชิดกันของกลุมสังคมระหวางภาษา หรือระหวางภาษาถิ่น สภาพที่ใกลชิดกันทั้งในแงภูมิศาสตรและในแงของสังคมทําใหภาษามีอิทธิพลตอกัน ผลของสถานการณการสัมผัสภาษาอาจปรากฏออกมาในรูปของการเจริญเติบโตของภาษา รูปของการยืม รูปแบบของการเปลี่ยนแปลงทางเสียงและวากยสัมพันธ เปนตน (อัสสมิง กาเซ็ง, 2544 : 8) จากแนวคิดขางตนจะเห็นไดวา การยืมคํานั้นเกิดขึ้นภายใตสภาวะของการสัมผัสภาษา และการสัมผัสภาษา ซ่ึงเกิดจากความตอเนื่องทางภูมิศาสตรหรือความใกลชิดของกลุมชนในสังคมที่พูดภาษาตางกันและเริ่มตนในผูพูดทวิภาษา(Bilingual)หรือพหุภาษา (Multilingual) 2.6 ประเภทของคํายืม ฮิวเกน (Haugen, 1956 Quoted in Carmel Heah Lee Hsia, 1989 : 23-24) กลาววา คํายืมจะเปนชนิดใดก็ตามสามารถอธิบายไดในลักษณะของการปรับเปลี่ยนและการทดแทนลักษณะเดิม คํายืมทุกคําจะตกอยูในสองลักษณะ คือ ยังคงรูปภาษาเดิมทั้งเสียงและความหมาย (Complete Importation) และเกิดการเปลี่ยนแปลงและการทดแทนขึ้น (Complete Substitution) ซ่ึงสามารถแบงออกเปน 3 ประเภทดังนี้ 2.6.1 คํายืมทับศัพท (Loanwords) คํายืมทับศัพท คือ คํายืมที่ยืมทั้งเสียงและความหมายพรอมกับมีการปรับเปลี่ยนลักษณะทางเสียงของคํายืมใหเหมือนหรือคลายคลึงกับการออกเสียงคําท่ัว ๆ ไปในภาษา หรือไมมีการปรับเปล่ียนลักษณะทางเสียงของคํายืมก็ได ซ่ึงคํายืมสวนใหญจะเปนคํายืมลักษณะน้ี ดังพบไดในภาษามลายูซ่ึงยืมคําจากภาษาอาหรับ เชน กุโบร อากา อาเรอนะ ดูนียอ เปนตน 2.6.2 คํายืมปน (Loanblends) คํายืมปน คือ คํายืมท่ียืมเขามาแลวใชผสมกับคําท่ีมีอยูในภาษาของผูรับ ดังพบไดในภาษามลายูซ่ึงยืมคําจากภาษาอาหรับ เชน โตะอิแม โตะปาเก ตีแย มือนาฆอ กาเอ็งมาแน เปนตน ซ่ึงคําวา “โตะ” เปนคําภาษามลายูถ่ินปตตานี หมายถึง “ผูอาวุโส” สวนคําวา “อิแม” เปนคําภาษา

Page 27: บทที่ 2 แนวคิดและทฤษฎ ีที่ ...dc.oas.psu.ac.th/dcms/files/04625/Chapter2.pdf · 2016. 10. 14. · วัฒนธรรมทางป

43

อาหรับ หมายถึง “ผูนําในการทําละหมาด” เมื่อคนมลายูปตตานียืมคําน้ีมาใชก็ไดประกอบเขากับคําวา “โตะ” เพื่อแสดงฐานะของผูนําละหมาดที่สูงสงกวาคนปกติทั่วไป 2.6.3 คํายืมแปล (Loanshifts) คํายืมแปล คือ คํายืมที่มีการยืมความหมายของคําในภาษาผูใหมาแปลและสรางคําใหมขึ้นในภาษาผูรับ ดังเชนคําวา มะฮ จือปุ ซ่ึงคนมลายูปตตานีใชเรียกขนมทองหยอด เปนคํายืมจากภาษาไทย เปนตน 2.7 ปจจัยที่กอใหเกิดการยืมคํา คารเมล เฮียะ ลี เซียะ (Carmel Heah Lee Hsia, 1989 : 14-16) ไดแบงปจจัยที่กอใหเกิดการยืมคําออกเปนปจจัยภายในและปจจัยภายนอกดังรายละเอียดตอไปนี้ 1. ปจจัยทางโครงสรางของตัวภาษา (Structural Factors) เปนปจจัยที่เกิดจากตัวภาษาเอง ซ่ึงสามารถสรุปไดดังนี้ 1.1 ความลงรอยกันระหวางสองภาษา (Structural Congruence) เปนความคลายคลึงกันและความลงรอยกันดานโครงสรางของภาษาสองภาษาที่เกิดการสัมผัสภาษา 1.2 ระดับความเปนอสิระของหนวยคํา (Degree of Boundness or Independence of Linguistic Item) ซ่ึงหนวยคําอิสระจะเกิดการยืมมากกวาหนวยคําไมอิสระและคําเน้ือหา เชน คํานาม คํากริยา คําคุณศัพท จะถูกยืมมากกวาคําไวยากรณ เชน คําบุพบท คําสันธาน เปนตน 1.3 ความถี่ในการปรากฏของคํา (Word Frequency) คําศัพทท่ีมีความถี่ในการปรากฏสูงและมีการใชบอย จะมีการยืมไดงายกวาคําศัพทที่มีความถี่ในการปรากฏต่ํา ไมวาคําศัพทนั้นๆ จะเปนคําศัพทในภาษาของผูพูดเองหรือเปนคําที่ถูกยืมเขามา สวนคําศัพทท่ีมีการใชนอยมักจะถูกลืมและถูกแทนที่ดวยคําใหม ทั้งจากภาษาตางถ่ินในภาษาเดียวกันหรือจากภาษาอื่นที่ยืม 1.4 การพองรูปของคํา (Homonymy) ปรากฏการณพองรูปของคําเปนปจจัยหนึ่งที่กอใหเกิดการยืมคําในภาษา ท้ังน้ีเพื่อหลีกเล่ียงการเกิดการพองรูปของคําศัพทนั้นเอง ตัวอยางเชน ชาวพื้นเมืองเผา Vosges

Page 28: บทที่ 2 แนวคิดและทฤษฎ ีที่ ...dc.oas.psu.ac.th/dcms/files/04625/Chapter2.pdf · 2016. 10. 14. · วัฒนธรรมทางป

44

patois ในประเทศฝรั่งเศสยืมคําวา voiture และ viande จากภาษาฝร่ังเศสเพื่อหลีกเล่ียงการใชคําพองเสียง carrum “เกวียน” และ carnem “เนื้อ” ในภาษาของตน 1.5 การเลิกใชคําศัพท (Word Obsolescence) คําศัพทที่เปนคําโบราณมักจะถูกเล่ียงและไมนิยมใช และมักจะถูกแทนที่ดวยคําศัพทใหม ๆ ซ่ึงก็เปนอีกปจจัยหนึ่งที่ทําใหเกิดการยืมคํา 1.6 ความไมพอเพียงของการแยกใหเห็นความแตกตางทางความหมายในภาษา (Insufficiency of Semantic Differentiation) ปรากฏการณนี้มักเกิดกับผูพูดทวิภาษา(Bilingual)หรือผูพูดพหุภาษา (Multilingual) ผูที่พูดไดสองภาษาหรือหลายภาษาเปนอยางดีบางคร้ังจะรูสึกวาความหมายบางอยางไมอาจส่ือไดดวยภาษาของตน จึงหันมาใชคํายืมหรือคําในอีกภาษาหนึ่งที่ผูพูดรูสึกวาสามารถสื่อความหมายไดดีกวา (Weinreich, 1953 : 59) 2. ปจจัยทางสังคมและวัฒนธรรม (Socio-Cultural Factors) เปนปจจัยที่นอกเหนือจากปจจัยของตัวภาษาเอง ซ่ึงก็คือปจจัยทางดานสังคมและวัฒนธรรม ไดแก 2.1 สถานภาพของทั้งสองภาษาท่ีเกิดการสัมผัสกัน (The relative status of the two languages) นั้นก็คือศัก ด์ิศรีของทั้ งสองภาษาที่ เ กิดการสัมผัสกัน ซ่ึ งประเด็นนี้นักภาษาศาสตรสวนใหญมีความเห็นสอดคลองกันวา ทิศทางของการยืมนั้นจะเกิดจากภาษาที่มีศักด์ิศรีเหนือกวาไปยังภาษาท่ีมีศักด์ิศรีดอยกวา อยางเชนในการศึกษาของบอลล (Ball) ระบุวา ในอดีตนั้นภาษาอาหรับเคยเปนภาษาท่ีมีศักด์ิศรีเหนือกวาภาษาสวาฮิลี ทําใหในภาษาสวาฮิลีมีคํายืมภาษาอาหรับเปนจํานวนมาก แตในปจจุบันศักด์ิศรีของภาษาอาหรับถูกแทนท่ีดวยภาษาอังกฤษ ทําใหภาษาอาหรับเปนแหลงที่มาของคํายืมในภาษานี้เปนอันดับที่สองรองจากภาษาอังกฤษ (อัสสมิง กาเซ็ง, 2544 : 12) 2.2 การบัญญัติศัพทขึ้นใชที่ยังไมเพียงพอตอการใช (Designative Adequacy or Inadequacy of a Vocabulary) ในกรณีนี้ เวนรีช (Weinreich, 1953 : 56-57) ไดอธิบายวา ความตองการในการเรียกส่ิงใหม ๆ ไมวาจะเปนส่ิงประดิษฐ เทคนิค การคนพบ และมโนทัศนใหม ๆ เปนปจจัยหนึ่งท่ีทําใหตองบัญญัติศัพทขึ้นมาใช และเปนปจจัยที่ทําใหเกิดการยืมคําเชนเดียวกัน 2.3 สภาพแวดลอมทางดานประวัติศาสตรของการสัมผัสภาษา (Historical Circumstances of Contact) น่ันก็คือ ปจจัยทางการเมือง เชน สงคราม การลาอาณานิคม และการอพยพ ทําใหภาษาหนึ่งมีอํานาจเหนืออีกภาษาหนึ่ง และทําใหเกิดการยืมไดเชนเดียวกัน

Page 29: บทที่ 2 แนวคิดและทฤษฎ ีที่ ...dc.oas.psu.ac.th/dcms/files/04625/Chapter2.pdf · 2016. 10. 14. · วัฒนธรรมทางป

45

2.4 ทัศนคติตอการยืมภาษา (Attitudes towards Borrowing) ทัศนคติที่มีตอภาษานับวาเปนอีกปจจัยหนึ่งที่ทําใหเกิด หรือไมทําใหเกิดการยืมคํา กลาวคือ ในกรณีแรกหากผูพูดมีความรูสึกหยิ่ง และภูมิใจในภาษาของตนก็จะไมทําใหเกิดการยืมคํา เนื่องจากมีความรูสึกไมยอมรับภาษาอื่น กรณีที่สอง หากผูพูดมีความรูสึกวาภาษาอื่นนาจะดีกวาสําหรับแทนความหมายบางความหมาย หรือเพื่อแสดงความรูความสามารถในการใชภาษาตางประเทศของตน ก็จะทําใหมีการยืมคําจากภาษาตางประเทศมาใช 2.5 ความไมลงรอยกันในทางวัฒนธรรม (Cultural Incompatibility) เม่ือเกิดการสัมผัสของวัฒนธรรมสองวัฒนธรรม ทําใหวัฒนธรรมหนึ่งเกิดการแพรกระจายไปสูอีกวัฒนธรรมหนึ่ง และมีการยืมเกิดขึ้น ซ่ึงมีท้ังส่ิงที่เปนวัตถุและนามธรรมแตถึงกระน้ันก็ไมใชทั้งหมด ซ่ึงอาจมีการยืมบางสิ่งและปฏิเสธบางสิ่ง โดยซอนกลิ่น และก่ิงแกว, (อางถึงใน สมทรง บุรุษพัฒน, 2543 : 5-6 ) กลาววา ชนชาติที่มีวัฒนธรรมสูงกวายอมถายทอดวัฒนธรรมของตนใหแกชาติท่ีมีวัฒนธรรมดอยกวา ทําใหเกิดการผสมทางวัฒนธรรม และกอใหเกิดการเปลี่ยนแปลงภาษา เชน ภาษาบาลีและสันสกฤต เขามาในภาษาไทยทางศาสนาและวรรณคดี ภาษาชวาเขามาทางวรรณคดี ย่ิงบานเมืองมีความเจริญกาวหนา การติดตอกันระหวางประเทศตางๆ ก็มีมากขึ้นและสะดวกขึ้น ทําใหมีการรับเอาความกาวหนา เทคโนโลยีของประเทศอื่นเขามา และมีความจําเปนตองสรางคําใหมขึ้นใชในภาษา มีการยืมคําในภาษาตางประเทศมาใชมากขึ้น สวนสุทธิวงศ พงศไพบูลย (2516 : 14-79, อางถึงใน ปรานี กายอรุณสุทธ, 2526 : 17-18) ไดกลาวถึงปจจัยที่กอใหเกิดการยืมซึ่งสรุปไดดังนี้คือ 1. ทางดานเชื้อชาติ สัญชาติหรือจากการแตงงาน การสมาคมติดตอและการไดเก้ือกูล อุปการะกัน 2. ทางดานภูมิศาสตร คือ มีดินแดนใกลชิดกัน ซ่ึงปจจุบัน การคมนาคม การส่ือสาร และส่ือมวลชนที่เจริญกาวหนา ทําใหคนในดินแดนที่อยูหางเหินกันมีโอกาสมาเกี่ยวของสัมพันธกันไดโดยสะดวก 3. ทางดานธุรกิจการคา การคาระหวางชนตางชาติ ตองพูดจาตกลงกัน การโฆษณาสินคาตองใชภาษาเปนสําคัญ จึงเกิดการยืมคํากันขึ้นทั้งท่ีจงใจและไมรูตัว 4. ทางดานศาสนา การรับเอาศาสนาเขามาในประเทศ ยอมตองรับเอาภาษาที่ใชในการสอนเขามาไวในภาษาดวยไมมากก็นอย เพราะผูที่ทําหนาที่เผยแผศาสนาจําเปนตองใชภาษาเปนส่ือในการสอนศาสนา 5. ทางดานเทคโนโลยีสมัยใหมทางการศึกษา วิทยาการและเคร่ืองมือ เคร่ืองใช กรณีนี้ภาษาผูใชมักจะตองเปนชนชาติที่เจริญกวาภาษาผูรับ ตัวอยางเชน การศึกษาในชั้นสูง มักจะใช

Page 30: บทที่ 2 แนวคิดและทฤษฎ ีที่ ...dc.oas.psu.ac.th/dcms/files/04625/Chapter2.pdf · 2016. 10. 14. · วัฒนธรรมทางป

46

ตําราภาษาอังกฤษ มีการเรียนวิชาการวิชาการปกครองของอังกฤษและฝรั่งเศส วิชาการแพทย และเคร่ืองกลของเยอรมัน วิชาการเกษตรของนิวซีแลนด เปนตน ดังนั้นจะเห็นวา ปจจัยที่กอใหเกิดการยืมนั้นประกอบดวยหลายปจจัย ทั้งปจจัยทางโครงสรางของภาษาซึ่งก็คือปจจัยที่มาจากตัวภาษาเอง และปจจัยทางดานสังคม วัฒนธรรม แตปจจัยท่ีถือวาเปนปจจัยหลักที่กอใหเกิดการยืมคําก็คือ การบัญญัติศัพทท่ีมีไมเพียงพอตอการใช ทั้งนี้ก็เนื่องมาจากความตองการเรียกส่ิงใหมๆ ไมวาจะเปนส่ิงประดิษฐ การคนพบ และมโนทัศนใหมๆ จึงจําเปนตองมีการยืมคําจากภาษาอื่นมาใช 2.8 แนวคิดเกี่ยวกับการแตงกาย เคร่ืองแตงกายเปนส่ิงที่มนุษยนํามาใชเปนเคร่ืองหอหุมรางกาย ในอดีตมนุษยไดแตงกายโดยใชเครื่องหอหุมรางกายจากสิ่งท่ีไดมาจากธรรมชาติ เชนใบไม ใบหญา หนังสัตว ขนนก ดิน สี ฯลฯ มนุษยบางเผาพันธุ รูจักการใชสีจากพืชนํามาเขียนหรือสัก เพื่อเปนเครื่องตกแตงแทนการหอหุมรางกาย ตอมามนุษยเรียนรูวิธีท่ีจะดัดแปลงการใชเครื่องหอหุมรางกายจากธรรมชาติใหเหมาะสม และสะดวกตอการแตงกายตามลําดับ เชน ผูก มัด สาน ถัก ทอ อัด ฯลฯ มาจนถึงรูจักการใชวิธีตัด และเย็บ จนกลายเปนเทคโนโลยีในที่สุด ในทางกายภาพมนุษยเปนส่ิงถูกสรางที่ออนแอที่สุด เพราะมีภูมิตานทานทางธรรมชาตินอยกวาสัตวอ่ืน ๆ และผิวหนังของมนุษยก็บอบบาง จึงจําเปนตองมีส่ิงปกปดรางกายเพื่อดํารงชีวิตอยูไดจากความจําเปนอันนี้เปนแรงกระตุนที่สําคัญในอันที่จะแตงกายเพื่อสนองความตองการของสังคม และอ่ืน ๆ ประกอบกัน จึงทําใหเครื่องแตงกายมีรูปแบบแตกตางกันออกไปตามปจจัย และส่ิงแวดลอม ดังนี้ 2.8.1 สภาพภูมิอากาศ ภูมิประเทศและดินฟาอากาศที่แตกตางกัน การใชเส้ือผาเคร่ืองแตงกายแตกตางกันไปดวย ผูคนท่ีอาศัยอยูในเขตที่มีอากาศหนาวก็จําเปนตองใชผาหนาหรือเส้ือผาหลาย ๆ ชิ้น ผูที่อยูในเขตที่มีอากาศรอนก็ใชเส้ือผาบางและนอยชิ้น เปนผลใหมีลักษณะของเคร่ืองแตงกายของแตละถ่ินมีรูปแบบที่แตกตางกันไป ท้ังในเรื่องของสีสันและลักษณะของใยผาวัสดุที่นํามาทอ อาทิ ชาวอียิปตรูจักนําปาน ลินินมาทอเปนผาเพื่อใชเปนเคร่ืองนุงหม สวนชาวบาบิโลเนียและซีเรียมีการเลี้ยงสัตว จึงนํา

Page 31: บทที่ 2 แนวคิดและทฤษฎ ีที่ ...dc.oas.psu.ac.th/dcms/files/04625/Chapter2.pdf · 2016. 10. 14. · วัฒนธรรมทางป

47

ขนสัตวเหลานั้นมาทอเปนผาขนสัตวสีตาง ๆ และผูคนท่ีอาศัยอยูในเขตอบอุนก็ใสผาโปรง บาง มีสีสันสวยงามเปนตน (สวาท เสนาณรงค, ม.ม.ป. : 144) ชนเผาทัวเร็ก (Tuareg) ซึ่งมักเรียกวาพวกบลูเมน (Blue men) จะสวมเชือกเปนเคร่ืองแตงกาย เชือกน้ียอมดวยสีน้ําเงิน สีก็มักจะตกติดเนื้อตัวดวย เพราะมักจะยอมสีเขม เพื่อชวยปองกันความรอนจากดวงอาทิตย สวนในแอฟริกาเส้ือผาไมจําเปนในการปองกันสภาพอากาศ เขากลับใชพวกเคร่ืองประดับตาง ๆ ที่ทําจากหิน แกวสีตาง ๆ ที่มีอยูในธรรมชาติมาตกแตง เพื่อปองกัน และยังถือวาเปนเคร่ืองรางปองกันผีรายอีกดวย ในบางกรณีมนุษยบางพวก เชน คนปาท่ีอยูในแถบตอนกลางของทวีปออสเตรเลีย ซ่ึงสภาพภูมิอากาศ 17-125 องศา และในบางคร้ังอาจต่ํากวา 0 องศา พวกเขาก็สามารถมีชีวิตอยูได โดยอาศัยความสามารถของรางกายท่ีปรับตัวใหเขากับอุณหภูมิของสภาพแวดลอม และอาศัยธรรมชาติจากเงาของภูเขาใหญปองกันแสงอาทิตย และใชคบเพลิงปองกันความหนาว สวนพวกอินเดียนในอเมริกาใตรูจักใชหนังสัตวปองกันในหนาหนาว แตพอหิมะละลายพวกชนเผานี้ก็จะไมสวมอะไรเลย ชารลส ดารวิน นักธรรมชาติวิทยา จึงแนะนําใหผาสีแดงแกพวกเขา แตก็ไมสามารถจะใชไดเปน จึงเพียงแตฉีกเปนแถบ นําไปพันคอ สะโพก และขอเทา 2.8.2 ศัตรูทางธรรมชาต ิ ประเทศในแถบรอน มักจะไดรับผลกระทบจากพวกสัตว และแมลงตาง ๆ ผูคนในแถบนี้จึงหาวิธีปองกันโดยพอกรางกายไวดวยโคลน กระโปรงทําดวยหญา เชน พวกฮาไวเอียน ที่อยูแถวทะเลแปซิฟค และพวกโมชันนิก เผาโซบี ซ่ึงปจจุบันยังคงนุงกันอยู แมวากระโปรงหญาท่ีพวกเขาคิดวาจะปองกันแมลงจะกลับกลายเปนที่เก็บแมลงมากกวา หรือในกรณีของอุนุ หรือ ไอนุ ซ่ึงเปนชาวพื้นเมืองของญี่ปุน รูจักใชกางเกงขายาวเพื่อปองกันสัตวและแมลงตาง ๆ เปนตน 2.8.3 หนาท่ีการงาน ในอดีตมนุษยใชหนังสัตว และใบไมเพื่อปองกันอันตรายจากการถูกหนามเกี่ยว และแมลงสัตวกัดตอยในเวลาที่เขาปาเพื่อหาอาหาร ตอมาเมื่อสังคมเจริญขึ้นมนุษยก็สามารถนําใยจากตนแฟลกซมาทอเปนผืนผาที่รูจักกันดีในนามของผาลินิน เมื่อความเจริญทางดานวิทยาการมากขึ้น ผาที่ผลิตก็มีเพิ่มขึ้นมากมายหลายชนิด และมีการประดิษฐเส้ือผาชนิดพิเศษซึ่งตรงกับความตองการของผู

Page 32: บทที่ 2 แนวคิดและทฤษฎ ีที่ ...dc.oas.psu.ac.th/dcms/files/04625/Chapter2.pdf · 2016. 10. 14. · วัฒนธรรมทางป

48

สวมใส โดยเฉพาะคนงานประเภทตาง ๆ เชน คนงานเหมืองแร เกษตรกร คนงานอุตสาหกรรม ทหาร ตํารวจ พนักงานดับเพลิง ฯลฯ จากอันตรายตาง ๆ ที่เกิดขึ้นขณะปฏิบัติงานนี้เอง ทําใหความตองการของมนุษยในดานเส้ือผาเพิ่มขึ้น จนปจจุบันเส้ือผาท่ีผลิตขึ้นมานั้น ไดมีการปรับปรุงตกแตงเปนพิเศษ ในแตละอาชีพการงาน เชน การตกแตงใหทนตอสารเคมีตาง ๆ ทนตอพิษ อุณหภูมิ นอกจากนี้ก็ยังมีการตกแตงอ่ืน ๆ อีกเชน ทนตอการซัก ไมเปนส่ือไฟฟา ไมดูดซึมน้ํา และทนตอความรอน อยางเชนเทคโนโลยีนาโนที่ใชในปจจุบัน 2.8.4 วัฒนธรรม และขนบธรรมเนียมประเพณี การท่ีมนุษยอยูรวมกันเปนกลุมชน จําเปนตองมีระเบียบ และกฎเกณฑเพื่อที่จะอยูดวยกันไดอยางสงบสุข การปฏิบัติสืบตอกันมานี้เองจึงไดกลายเปนขนบธรรมเนียมประเพณี และวัฒนธรรมในที่สุด ในสมัยโบราณ มนุษยตองการฉลองประเพณีสําคัญ เชน การเกิด เริ่มโต การตาย การเก็บเกี่ยว หรือเริ่มเขาสังคมกับกลุมอื่น ๆ ซ่ึงในการงานนี้พวกเขาก็จะแตงตัวประดับประดารางกายดวยเครื่องประดับตาง ๆ เชน ขนนก หนังสัตว และการทาสีตามรางกาย การสัก เจาะ บางครั้งก็ทําลวดลายสวนตาง ๆ ของรางกาย เพื่อแสดงยศหรือตําแหนง ปจจุบันก็ยังคงมีอยูในกลุมชนเผาพื้นเมืองตามพื้นที่ตาง ๆ นอกจากนี้ปจจุบันเรายังไดนําเอาความคิดเหลานี้มาประยุกตใหเขากับโลกปจจุบัน โดยผลิตเปนเครื่องสําอางชนิดตาง ๆ ดังที่นิยมใชกันอยูทุกวันนี้ เชน ลิปสติก อายแชโดว เปนตน การสักเปนการทําใหเกิดรอยบนรางกายซ่ึงจะอยูไดนาน และในปจจุบันก็ยังคงเปนแฟชั่นของการแตงกายอยางหนึ่ง สําหรับการสักตามธรรมเนียมของหญิงสาว “เผามาดอนด” จะตองสรางลวดลายขึ้นบนแผนหลัง ดวยวิธีใหผูชํานาญในการกรีดผิวหนังใหเกิดเปนรอง แลวอัดดวยดินผงใหนูนขึ้นมา ทําใหเกิดเปนลวดลายเหมือนผืนผาที่ปกดวยเสนไหม ถือกันวาหญิงสาวท่ีมีลวดลายเชนนี้เปนคนสวย และเปนที่พึงปรารถนาของหนุมที่จะไดไวเปนภรรยา หญิงใดที่ไรลวดลายจะถูกกลาวหาวาขี้เหรที่สุด และหมดโอกาสที่มีคูครองตลอดชีวิต การสักใบหนาใหมีลวดลายแปลก ๆ เปนประเพณีอยางหนึ่งของสาว ๆ เผามาดอนด เร่ิมจากการสักเพื่อใหดูนาเกลียด ปองกันไมใหพวกคาทาสที่กลัดมันสนใจจับตัวไปขมขืน จึงกลายเปนประเพณีที่เห็นวาสวยงามสําหรับชายเผาเดียวกัน ในภายหลังเพิ่มการเจาะริมฝปากบนและต่ิงหูใสเครื่องประดับขึ้นอีกดวย

Page 33: บทที่ 2 แนวคิดและทฤษฎ ีที่ ...dc.oas.psu.ac.th/dcms/files/04625/Chapter2.pdf · 2016. 10. 14. · วัฒนธรรมทางป

49

ดวยเหตุที่การแตงกายของมนุษยเราผิดแผกกันออกไปแลวแตสภาพของสิ่งแวดลอมและความจําเปนน้ีเอง จึงกลายเปนขนบธรรมเนียมประเพณีและวัฒนธรรมในการแตงกายของแตละชนชาติในที่สุด 2.8.5 ศาสนาและความเชื่อ ศาสนาและความเชื่อมีบทบาทสําคัญในการแตงกายเชนกัน จะเห็นไดจากรูปแบบของการแตงกายของสตรีมุสลิมท่ีมีการปกปดรางกายมิดชิด ซ่ึงเปนผลมาจากคําสอนของศาสนาอิสลามที่บัญญัติใหสตรีตองสวมเสื้อผาปกปดรางกายใหมิดชิด เวนไวแตเพียงใบหนาและฝามือ นอกจากนี้เส้ือผาที่สวมก็จะตองไมรัดรูปจนเห็นทรวดทรง หรือในกรณีของสตรีชาวฮินดูซ่ึงเมื่อนางเปนหมายก็จะตองไมเติมจุดบนหนาผาก และไมสวมเส้ือผาสีสันฉูดฉาด มิฉะนั้นนางจะถูกดาทอจากสมาชิกในสังคม นอกจากนี้วัฒนธรรมการนุงผาใตสะดือของสตรีชาวอินเดียสามารถถายทอดความเชื่อที่วา “สตรีใดตะโพกกวาง มีเน้ือมากและแผนลิ้นยาว สะดือลึกและกวาง มีรอยสะดือเวียนขวา สตรีใดมีลักษณะอยางนี้ สตรีนั้นมีความสุข” ไดเปนอยางดี (ส.พลายนอย, 2534 : 182) 2.8.6 ความดึงดูดใจในเพศตรงกันขาม ความดึงดูดใจในเพศตรงขามเปนสาเหตุหนึ่งที่ทําใหมนุษยมีความตองการแตงตัวแตกตางกัน เชน เมื่อเริ่มเติบโตเขาวัยหนุมสาว มีความสมบูรณทางเพศ เปนธรรมชาติที่ตองทําตัวเองใหเปนที่ดึงดูดใจแกเพศตรงขามการแตงกายดีขึ้น รูจักรักสวยรักงาม มีการจับจายในเร่ืองเส้ือผามากขึ้น ผูสนองความตองการเหลาน้ีไดก็คือ นักออกแบบเสื้อผาท่ีมีชื่อเสียงตาง ๆ เกิดขึ้น ไดพยายามออกแบบเสื้อผาเคร่ืองแตงกายใหเหมาะกับลักษณะที่แตกตางกันออกไปตามระดับของสังคม 2.8.7 ฐานะทางเศรษฐกิจ ฐานะทางเศรษฐกิจของแตละบุคคลเปนอีกปจจัยในการกําหนดรูปแบบของการแตงกาย ดังจะเห็นไดจากสังคมทั่วไปที่ผูมีฐานะดีมักใชเส้ือผา เครื่องแตงกายที่ดีมีคุณภาพ และยี่หอดัง ซ่ึงเส้ือผาประเภทนี้มักมีราคาสูง นอกจากเส้ือผาแลวเคร่ืองประดับตาง ๆ อาทิ เคร่ืองเพชร นาฬิกา สรอย แหวน เปนตน ก็เปนที่นิยมในคนกลุมนี้เฉกเชนเดียวกัน โดยมักสวมใสควบคูกับเส้ือผาที่

Page 34: บทที่ 2 แนวคิดและทฤษฎ ีที่ ...dc.oas.psu.ac.th/dcms/files/04625/Chapter2.pdf · 2016. 10. 14. · วัฒนธรรมทางป

50

สวยงามและทันสมัย ซ่ึงการแตงกายยังสามารถบงบอกชนชั้นของผูสวมใสไดอีกดวย เชน ชนชั้นเจานาย ชนชั้นผูใหญ ชาวบาน และชนชั้นกรรมกร เปนตน โดยรูปแบบของการแตงกายจะบงชัดวาผูแตงอยูในฐานะระดับอยางไร และยังบงถึงสภาพสังคมของคนเหลานี้อีกดวย