แผนการบริหารทร ัพยากรบ...

100
แผนการบริหารทรัพยากรบุคคล คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี พ.ศ. ๒๕๕๐ - ๒๕๖๐ จัดทําโดย สํานักงานเลขานุการคณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี ปรับปรุง ครั้งที(เมษายน ๒๕๕๒)

Transcript of แผนการบริหารทร ัพยากรบ...

Page 1: แผนการบริหารทร ัพยากรบ ุคคลweb.eng.ubu.ac.th/~personnel/personneldata/HRD plan2550... · 2019-05-15 · แผนการบริหารทร

แผนการบรหิารทรพัยากรบคุคล

คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี พ.ศ. ๒๕๕๐ - ๒๕๖๐

จัดทําโดย

สํานักงานเลขานุการคณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี ปรับปรุง ครั้งที่ ๑ (เมษายน ๒๕๕๒)

Page 2: แผนการบริหารทร ัพยากรบ ุคคลweb.eng.ubu.ac.th/~personnel/personneldata/HRD plan2550... · 2019-05-15 · แผนการบริหารทร

คํานํา

แผนการบริหารทรัพยากรบุคคล คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี พ.ศ. 2550 - 2560 ฉบับนี้เปนฉบับปรับปรุง ครั้งท่ี 1 จัดทําข้ึนเพื่อภายใตกรอบยุทธศาสตรและแผนกลยุทธคณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี ป 2549-2565 (ปรับปรุง ปรับปรุงครั้งลาสุดเมื่อ มกราคม 2551) โดยอาศัยขอมูลเชิงประจักษจากหลายสวน อาทิเชน ขอมูลการวิเคราะหภาระงานเพื่อประกอบการวิเคราะหอัตรากําลังของ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี รายงานการสํารวจความตองการฝกอบรมของบุคลากรสายสนับสนุน คณะวิศวกรรมศาสตร ในชวงป พ.ศ. 2550-2560 คูมือการปฏิบัติงานดานการเจาหนาท่ี คณะวิศวกรรมศาสตร ขอคิดเห็น ขอเสนอแนะจากการประเมินความพึงพอใจในการใชบริการสํานักงานเลขานุการ ตลอดจนขอเสนอแนะจากคณะกรรมการตรวจประเมินคุณภาพการศึกษาในชวงการประเมินในปการศึกษา 2547-2548-2549-2550 ซึ่งไดเสนอใหคณะวิศวกรรมศาสตรนําขอสรุปจากการประเมินผลการปฏิบัติงานของบุคลากรเพื่อจัดทําแผนพัฒนาบุคลากรอยางเปนรูปธรรม ท้ังนี้ งานการเจาหนาท่ี คณะวิศวกรรมศาสตร ใครขอขอบคุณผูบริหารและบุคลากรทุกทานที่มีสวนรวมใหขอมูลในการจัดทําเอกสารฉบับนี้ใหเสร็จลุลวงไปดวยดี และหวังวาเอกสารฉบับนี้จะเปนประโยชนในการดําเนินงานดานการพัฒนาทรัพยากรบุคคลของคณะวิศวกรรมศาสตรตอไป ธีระพงษ วงศบุญ

เจาหนาที่บริหารงานทั่วไป 8 ระดับ 8 หัวหนาสํานักงานเลขานุการ

คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยอุบลราชธาน ี

เมษายน 2552

Page 3: แผนการบริหารทร ัพยากรบ ุคคลweb.eng.ubu.ac.th/~personnel/personneldata/HRD plan2550... · 2019-05-15 · แผนการบริหารทร

สารบัญ

เร่ือง หนา

1.บทนํา 1 1.1 กรอบแนวคิดและเนื้อหา 1 1.2 ขอมูลท่ัวไปของมหาวิทยาลัยอบุลราชธานี 3 2. ยุทธศาสตรคณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี 5 2.1 ขอมูลท่ัวไปของคณะวิศวกรรมศาสตร มหาวทิยาลัยอุบลราชธานี 5 2.2 ขอมูลทางกายภาพ 6 2.3 ยุทธศาสตรและที่มาของยุทธศาสตร 7 2.4 การจัดทํายุทธศาสตร คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี 9 2.5 แผนการรับนักศึกษาสาขาวิศวกรรมศาสตร 18 3. นโยบายและระบบ 19 3.1 การประกันคุณภาพการศึกษา -QA Principal 19 3.2 นโยบายดานการบริหารงานบุคคล (Human Resource Management Policies) 19 3.3 ระบบการบริหารงานบุคคล (Human Resource Management System ) 20 3.4 โครงการสรางองคกร (Organization) 21 3.5 หนวยงานและภารกิจในความรับผิดชอบ 23 4. การวิเคราะหความตองการอัตรากําลังและแผนอัตรากําลัง 27 4.1 การวิเคราะหอัตรากําลัง (Workforce Analysis) 27 4.2 หลักเกณฑ ข้ันตอนการ วิธีการในการวิเคราะหอัตรากําลัง 27 4.3 หลักทฤษฎีหรือเทคนิคท่ีใชในการวิเคราะหอัตรากําลัง 27 4.4 ผลการวิเคราะหและการกําหนดแผนอัตรากําลังป 2550-2560 (Workforce Analysis and Manpower Planning)

31

5. การพัฒนาทรัพยากรบุคคล 55 5.1 บทนํา 55 5.2 ยุทธศาสตรการพฒันาทรัพยากรบุคคล 55 5.3 เปาหมายการพัฒนาทรัพยากรบุคคล 60 5.4 แผนพัฒนาทรัพยากรบุคคล 61 6. คาตอบแทนและสวัสดิการ 64 6.1 ระบบคาตอบแทน 64 6.2 ระบบสวัสดิการและสิทธิประโยชน 64

Page 4: แผนการบริหารทร ัพยากรบ ุคคลweb.eng.ubu.ac.th/~personnel/personneldata/HRD plan2550... · 2019-05-15 · แผนการบริหารทร

7. ระบบการประเมิน 66 7.1 บุคลากรสายอาจารย 66

7.2 บุคลากรสายสนับสนุน 66 8. ระบบความกาวหนาในสายวิชาชีพ 72 8.1 ขาราชการสายวิชาการ 72 8.2 ขาราชการสายสนับสนุน 73 8.3 กลุมลูกจางประจํา 76 8.4 กลุมพนักงานมหาวิทยาลัย 76 8.5 กลุมลูกจางชั่วคราว 76 9. การรักษาไวและการเกษียณ 78 9.1 บทนํา 78 9.2 การดําเนินการ 78 9.3 คุณภาพชีวิต 79 9.4 การเกษียณอายุราชการและสิทธิประโยชนท่ีขาราชการพึงไดเมื่อพนจากราชการโดยไมมีความผิด

79

10. บรรณานกุรม 81 11. ภาคผนวก 83

Page 5: แผนการบริหารทร ัพยากรบ ุคคลweb.eng.ubu.ac.th/~personnel/personneldata/HRD plan2550... · 2019-05-15 · แผนการบริหารทร

1

แผนบริหารทรัพยากรบุคคล คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี 2550-2560

1. บทนาํ

Introduction 1.1 กรอบแนวคิดและเนื้อหา

“ทรัพยากรบุคคล คือสิ่งมีมีคาท่ีสุดขององคกร” เปนคําสําคัญของปรัชญาการบริหารองคกรใหเกิดความกาวหนาและมีประสิทธิภาพสูงสุดที่ไดรับการยอมรับอยางแพรหลายในทุกวงการ นับตั้งแตยุคของการปฏิรูประบบบริหารจัดการ แนวความคิดปรับร้ือระบบ( Re-engineering) ไดเริ่มขึ้นและกลายเปนการเปลี่ยนแปลงระบบการบริหารองคกรจากที่เคยคิดวา คนเปนเพียง 1 ใน 4 ปจจัยการผลิต (4 M : Man Money Material Management ) พัฒนามาเปน “คน เปน M ท่ีสําคัญที่สุด ใน 4M” จากนั้นก็พัฒนาตอไป เปน “คน ไมใชปจจัยการผลิต แตเปนทรัพยากรบุคคลขององคกร” และเปน ”ทรัพยากรมนุษย :Human Resource) จนถึงเปน “ทุนมนุษย” ซึ่งเปนการพัฒนาขั้นสุดยอดจากการคิดกลับดานที่เคยมองวา “คนงานในอดีตจะเนนหนักไปที่งานที่ตองใชแรงงาน เทคโนโลยีสมัยใหมไปเปลี่ยนโฉมหนาของคนและงานจากอดีตที่เนนแตการใชแรงงานมาใชความรูและทักษะมากขึ้น” หรือ “องคกรจะไมประสบความสําเร็จเลยหากไดเฉพาะแรงงาน แตจะตองไดจิตใจทุมเทดวย การบริหารคนและงานเปนหัวขอท่ีซับซอนมากหัวขอหนึ่งดวยเหตุผลท่ีวา หนึ่ง คนงานเปนทรัพยากรบุคคลไมใชเคร่ืองจักร ลักษณะของคนแตละคนก็แตกตางกันออกไป สอง เราตองถามวาบริษัทในฐานะของสถาบันที่สําคัญในสังคมตองทําอะไรใหคนงานทําตามความสามารถใหลุลวงไป และตองถามคนงานในฐานะมนุษยและประชากร หรือปจเจกบุคคล วาตองมีหนาท่ีทําอะไรใหบริษัทบาง สุดทาย การบริหารคนงานจะตองทําใหคาใชจายเกี่ยวกับคาแรงงาน และแรงงานที่เปนรายไดของคนงานมีการประสานสอดคลองกัน”

“หากเราพิจารณาคนงานที่วาเปนทรัพยากรชนิดหนึ่งซึ่งสามารถใชหรือจับวางที่ใดก็ได จะเปนการมองในเชิงจักรกลมากเกินไป ซึ่งจริงๆ แลวคนมีคุณสมบัติพิเศษที่ทรัพยากรทั่วไปไมมี คือ ความสามารถในการประสานงาน จินตนาการ มีวิจารณญาณ ดังนั้น เราจึงตองมีคําวา “บุคคล” ซึ่งแสดงความเปนมนุษยพวงทายไปกับคําวาทรัพยากร กลายเปน “ทรัพยากรบุคคล” ทรัพยากรบุคคลจะตองไดรับการกระตุนและสงเสริมในกระบวนการทํางาน ซึ่งจะตองเปนการกระตุนและสงเสริมในเชิงบวก บุคคลหนึ่งจะตองเปนผูควบคุมตนเอง ในเรื่องคุณภาพและปริมาณงานที่ตนเองทํา”(นิตยสาร mba. ฉบับที่ 25. Cover Story5. บริหารคนกับงาน. น.67-72.) จากความสําคัญดังกลาวจึงเปนที่มาของแนวคิดเรื่องการวางแผนอัตรากําลังคนและการพัฒนาทรัพยากรมนุษยขององคกรอยางเปนระบบ ชัดเจนและระมัดระวังเพราะเร่ืองของทรัพยากรมนุษยมีความละเอียดออนและเกี่ยวโยงกับทุกระบบ ทุกโครงสรางที่ยึดโยงกันเปนองคกรและความสัมพันธกับผลิตภาพผลิตผลขององคกร ดังนั้น กรอบแนวคิดและเนื้อหาของการทําเอกสารฉบับนี้จึงมุงดําเนินตามกระบวนการที่เริ่มจากการทบทวนขอมูลวิเคราะหจุดออนจุดแข็ง ปญหา อุปสรรคและโอกาสของ คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี ดวยเทคนิค SWOT ท่ีเคยดําเนินการไวแลวและนําไปสู การกําหนดวิสัยทัศน (Vision) ประเด็นยุทธศาสตร (Strategic Issue) เปาประสงค (Goals) ยุทธศาสตร (Strategies) แผนงาน (Action Plan) โครงสรางองคกร (Organization) ระบบทรัพยากรบุคคล(Human Resources)และตําแหนง (Position) ภายใตแนวคิดหลัก : “สรรหา พัฒนา รักษา” ตามลําดับ โดยแสดงไดตามรูปที่ 1.1 และจากนั้นจึงจะนําไปสูกระบวนการในการจัดทําแผนอัตรากําลัง(Manpower Planning) ตามรูปที่ 1.2

Page 6: แผนการบริหารทร ัพยากรบ ุคคลweb.eng.ubu.ac.th/~personnel/personneldata/HRD plan2550... · 2019-05-15 · แผนการบริหารทร

2

แผนบริหารทรัพยากรบุคคล คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี 2550-2560

รูปที่ 1.1 กรอบแนวคิดในการจดัทําแผนอัตรากาํลัง

ที่มา : ปณรส มาลากุล ณ อยุธยา .2549.การพัฒนาระบบบรหิารราชการแผนดินของไทย จากนโยบายสูการปฏิบัติ

รูปที่ 1.2 กระบวนการในการจดัทําแผนอตัรากําลัง

ท่ีมา : กิตติศักดิ์ สําเภาเงิน.2550.การบริหารทรัพยากรบุคคลยุคใหมและการพัฒนาองคกร

System& Policies

S W O T

Vision

Strategic Issue

Goal (KPI / target)

แผนงาน 5 ป

Strategies

Organization

Human Resources

PositionManpower Planning

Manpower planning

สรรหา

พัฒนา

รักษา

Page 7: แผนการบริหารทร ัพยากรบ ุคคลweb.eng.ubu.ac.th/~personnel/personneldata/HRD plan2550... · 2019-05-15 · แผนการบริหารทร

3

แผนบริหารทรัพยากรบุคคล คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี 2550-2560

1.2 ขอมูลทั่วไปของมหาวิทยาลัยอุบลราชธานี มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี เมื่อปพุทธศักราช 2530 น้ันมีฐานะเปนวิทยาลัยอุบลราชธานี ในสังกัด มหาวิทยาลัยขอนแกน เริ่มตนกอสรางดวยงบประมาณราว 16 ลานบาท ในป 2531 ตอมา ในป พุทธศักราช 2533 จึงถูกยกฐานะเปนมหาวิทยาลัยอุบลราชธานี ตามพระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยอุบลราชธานี พ.ศ. 2533 ประกาศ ในราชกิจจานุเบกษา เมื่อวันที่ 29 กรกฎาคม พ.ศ. 2533 ถือเปนมหาวิทยาลัยลําดับที่ 19 ในสังกัดทบวงมหาวิทยาลัย สภามหาวิทยาลัยอุบลราชธานี ไดแตงต้ัง รองศาสตราจารย สมจิตต ยอดเศรณี ดํารงตําแหนงอธิการบดีเปนคนแรก มหาวิทยาลัยอุบลราชธานีในระยะเร่ิมกอต้ัง ประกอบดวย 4 คณะและ 1 สถาบัน คือ คณะวิทยาศาสตร คณะเกษตรศาสตร คณะวิศวกรรมศาสตร คณะเภสัชศาสตร และสถาบันภาษาและวัฒนธรรม นับแตบัดน้ัน มหาวิทยาลัยเจริญกาวหนาขึ้นโดยลําดับ ภายหลัง สถาบันภาษาและวัฒนธรรม เปลี่ยนเปนคณะศิลปศาสตร ในป พ.ศ. 2542 และมหาวิทยาลัยไดกอต้ังสํานักวิทยบริการ สํานักคอมพิวเตอรและเครือขาย คณะบริหารศาสตร คณะศิลปประยุกตและการออกแบบ คณะนิติศาสตร คณะรัฐศาสตร และโครงการจัดต้ังคณะแพทยศาสตรและการสาธารณสุข ตามลําดับ

มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี ต้ังอยู ณ กิโลเมตรที่ 10 ถนนวารินชําราบ - เดชอุดม ตําบลเมืองศรีไค อําเภอวารินชําราบ จังหวัดอุบลราชธานี มีพื้นที่ท้ังหมดประมาณ 5,117 ไร เฉพาะเขตการศึกษามีพื้นที่ประมาณ 450 ไร (รูปที่ 1.1) และมีเว็บไซท คือ http://www.ubu.ac.th ปณิธาน

“พัฒนาความรู มุงสูปญญา พรอมคุณคาคุณธรรม” ปรัชญา

“มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี สรางสติและปญญาแกสังคม บนพื้นฐานความพอเพียง”1 วิสัยทัศน

“เปนมหาวิทยาลัยแหงคุณภาพ ท่ีเนนนวัตกรรมการจัดการเรียนรู เพ่ือเพิ่มขีดความสามารถของบัณฑิตและประชาชนบนฐานภูมิปญญาอสีานใตและอนุภูมิภาคลุมน้ําโขง”2 พันธกิจ

1 . ผลิตบัณฑิตที่มีคุณภาพมาตรฐานในระดับสากล มีคุณธรรมนําความรู คิดเปน ทําเปน และ ดํารงชีวิตบนพื้นฐานพอเพียง

2. วิจัยและสรางนวัตกรรมเพื่อใหเกิดองคความรูใหมและผลงานสรางสรรค ท่ีสามารถนําไปประยุกตใชไดอยางมีความสุข และพอเพียง

3. บริการวิชาการแกสังคมเพื่อชีวิตที่ดีของประชาชน และสรางมูลคาเพิ่มในกิจกรรมตางๆ ของชุมชนและ อุตสาหกรรมทองถิ่นอีสานใตและอนภุูมิภาคลุมน้ําโขง เพื่อกอใหเกิดทักษะเพียงพอ ตอการพัฒนาตนเองและ ประเทศชาติ

4. ทํานุบํารุง ฟนฟู ศิลปวัฒนธรรมอันดีงามของทองถิ่น และภูมิภาคอื่นเพื่อใหเกิดการเรียนรู รับรู และรักษาไวภายใตบริบทโลกาภิวัตน …………………………………………………………………………………………………………………………… 1 และ 2 ปรับปรุงในเดือนมกราคม พ.ศ. 2551

Page 8: แผนการบริหารทร ัพยากรบ ุคคลweb.eng.ubu.ac.th/~personnel/personneldata/HRD plan2550... · 2019-05-15 · แผนการบริหารทร

4

แผนบริหารทรัพยากรบุคคล คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี 2550-2560

ยุทธศาสตร3 1. พัฒนาอาจารยและบุคลากรเพื่อเตรียมความพรอมตอการพัฒนามหาวิทยาลัยในยุคที่มี การเปลี่ยนแปลงอยาง

รวดเร็ว (ยุทธศาสตรใหม) 2. พัฒนานักศึกษาใหเกิดทักษะ มีเครื่องมือ มีความรูในทฤษฎีพ้ืนฐานและสามารถนําความรูไปคิดแกปญหาใน

พื้นที่ไดจริง 3. สงเสริมการวิจัยและสรางนวัตกรรม เพื่อใหเกิดองคความรูใหมและผลงานสรางสรรคท่ีสามารถนําไปใชเพิ่มขีด

ความสามารถของชุมชนในทองถิ่น และประเทศใหอยูไดอยางมีความสุข 4. เสริมสรางความเปนเลิศทางดานฐานขอมลู องคความรู และผูรูในอีสานใตและอนุภูมภิาคลุมน้ําโขงเพื่อการ

บริการวิชาการแกชุมชนและสรางคุณคาและมูลคาเพิ่มใหกับมหาวิทยาลัยผานการเรียนรูรวมกับชุมชน 5. สงเสริม ทํานุบํารุงและฟนฟูรูปแบบ และความคิดทางศิลปะและวัฒนธรรมอันดีงามของทองถิ่นและชาติ โดย

การซึมซับเขาสูวิถีการดํารงชีวิตเพ่ือรองรับ การเปลี่ยนแปลงภายใตความหลากหลายทางวัฒนธรรม 6. บริหารดวยหลักธรรมาภิบาลเพื่อพัฒนาองคกรและบุคลากรใหมีคุณภาพและมีความสุข

เปาหมาย 1. เปนมหาวิทยาลัยท่ีมีความหลากหลายในสาขาวิชาตาง ๆ ท่ีสามารถตอบสนองความตองการ

ทางดาน วิชาการของชุมชนในทองถิ่น โดยเนนสวนตะวันออกของภาคตะวันออกเฉียงเหนือ 2. เปนมหาวิทยาลัยท่ีสรางบัณฑิตใหเปนกําลังสําคัญของประเทศ อันจะนําไปสูการพัฒนาชุมชน สังคม และ

เศรษฐกิจ เพื่อกอใหเกิดความศานติสุขอยางยั่งยืน 3. เปนมหาวิทยาลัยท่ีมีศักยภาพเปนศูนยหลักในการสรางและถายทอดเทคโนโลยีตาง ๆ ของสวนตะวันออก

ของภาคตะวันออกเฉียงเหนือ และ 4. เปนมหาวิทยาลัยท่ีมีระบบการบริหารงานที่มีประสิทธิภาพ โดยเนนที่ผลการปฏิบัติงานที่คลองตัว โปรงใส

และตรวจสอบไดตามแนวทางของมหาวิทยาลัยในกํากับของรัฐ แนวทางการพัฒนา

1. เนนนักศึกษา ชุมชน และคนจนเปนสําคัญ 2. เนนพื้นที่รับผิดชอบ 8 จังหวัด ในเขตอีสานใตและตะวันออก ซึ่งประกอบดวย อุบลราชธานี อํานาจเจริญ

ยโสธร ศรีสะเกษ สุรินทร บุรีรัมย มุกดาหาร และนครพนม 3. สรางเครือขายพันธมิตรมหาวิทยาลัยอุบลราชธานีเพื่อความรวมมือในการพัฒนาโดยอาจจะประกอบดวย

เครือขายองคกรทองถิ่น เครือขายราชการ เครือขายองคกรภาคเอกชน เครือขายประชาชนกลุมตางๆ (เกษตรกร กลุมอาชีพ สมัชชา ฯลฯ) และเครือขายธุรกิจ (หอการคา สภาอุตสาหกรรม สโมสร ฯลฯ)

4. จัดทําแผนยุทธศาสตรทุก 5 ป 5. จัดทําแผนปฏิบัติการประจําปท่ีเปนจริงเปนจังและโดนใจทุกฝาย โดยเฉพาะอยางยิ่งนักศึกษาและชุมชน 6. ประเมินผลจากตัวช้ีวัดผลการดําเนินงาน (Key Performance Indicators: KPIs)

…………………………………………………………………………………………………………………………… 3 ปรับปรุงใน เดือนมกราคม พ.ศ. 2551

Page 9: แผนการบริหารทร ัพยากรบ ุคคลweb.eng.ubu.ac.th/~personnel/personneldata/HRD plan2550... · 2019-05-15 · แผนการบริหารทร

5

แผนบริหารทรัพยากรบุคคล คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี 2550-2560

2. ยทุธศาสตรคณะวศิวกรรมศาสตร มหาวทิยาลยัอบุลราชธาน ี

Strategy 2.1 ขอมูลท่ัวไปของคณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลยัอุบลราชธาน ี

คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี เดิมเปนภาควิชาวิศวกรรมศาสตร สังกัดวิทยาลัยอุบลราชธานี ไดเปดดําเนินการรับนักศึกษารุนแรกในปการศึกษา 2531 ในสาขาวิศวกรรมเครื่องกล ตอมาในป พ.ศ. 2533 ถูกยกฐานะเปนคณะวิศวกรรมศาสตร พรอม ๆ กับเมื่อวิทยาลัยอุบลราชธานี ถูกยกฐานะเปนมหาวิทยาลัยอุบลราชธานี ตามพระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยอุบลราชธานี พ.ศ. 2533 ประกาศในราชกิจจานุเบกษา เมื่อวันที่ 29 กรกฎาคม 2533 ในเบื้องตนประกอบดวย 3 ภาควิชา คือ วิศวกรรมเคร่ืองกล วิศวกรรมไฟฟาและอิเล็กทรอนิกส และวิศวกรรมอุตสาหการ ตอมาไดจัดต้ังภาควิชาวิศวกรรมโยธา และภาควิชาวิศวกรรมเคมี ตามลําดับ ซึ่งในปจจุบันคณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี จัดการเรียนการสอนทั้งหมด 5 ภาควิชา มีการเรียนการสอนระดับบัณฑิตศึกษา (ปริญญาโท และเอก) ในสาขาวิศวกรรมสิ่งแวดลอม วิศวกรรมเครื่องกล วิศวกรรมอุตสาหการ และวิศวกรรมโยธา โดยมีแผนที่จะเปดการเรียนการสอนระดับบัณฑิตศึกษา ในสาขาวิศวกรรมไฟฟาและอิเล็กทรอนิกสในป 2552

คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี ต้ังปณิธานที่จะเปนสติปญญาของสังคม ท่ีเอื้ออํานวยใหสังคมแกปญหาและพัฒนาไปอยางสมดุลและยั่งยืน โดยการพัฒนาความเปนเลิศทางวิชาการเพื่อการบริหารจัดการเทคโนโลยี ทรัพยากร ธรรมชาติ และสิ่งแวดลอม อยางมีประสิทธิภาพและประหยัด มีวิสัยทัศน ท่ีจะเปนกําลังหลักในการศึกษา วิจัยและพัฒนางานดานวิศวกรรมของภาคตะวันออกเฉียงเหนือ โดยมีเปาประสงค คือ จํานวนและคุณภาพของบัณฑิตเพิ่มขึ้น จํานวนงานวิจัย สิ่งประดิษฐ นวัตกรรม และการถายทอดเทคโนโลยีเพิ่มขึ้น จํานวนความรวมมือกับองคกรอื่น ๆ ในภูมิภาคเพิ่มขึ้น สัญลักษณ สัญลักษณของคณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยอุบลราชธานีมีลักษณะเปนสากล เชนเดียวกับสัญลักษณของคณะวิศวกรรมศาสตร แทบทุกสถาบัน คือ ประกอบดวยสัญลักษณของมหาวิทยาลัย ลอมรอบดวยเฟองสีเหลือง บนพื้นสีแดงเลอืดหมู ซึ่งเปนสีสากลของคณะวิศวกรรมศาสตรทุกสถาบัน ภายในเฟองและเหนือสัญลักษณมหาวิทยาลัย มีคําวา “คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี” และ “Faculty of Engineering Ubon Ratchathani University” (รูปที่ 2.1) สีประจําคณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยอุบลราชธานีคือ สีเลือดหมู คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยอบุลราชธานีมีหมายเลขโทรศัพท 0-4535-3300 หมายเลขโทรสาร 0-4535-3333 และเว็บไซท http://www.eng.ubu.ac.th

รูปที่ 2.1 สัญลักษณ คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยอุบลราชธาน ี

Page 10: แผนการบริหารทร ัพยากรบ ุคคลweb.eng.ubu.ac.th/~personnel/personneldata/HRD plan2550... · 2019-05-15 · แผนการบริหารทร

6

แผนบริหารทรัพยากรบุคคล คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี 2550-2560

2.2 ขอมูลทางกายภาพ อาคารเรียน หองปฏิบัติการและโรงประลอง

คณะวิศวกรรมศาสตร มีอาคารเรียน หองปฏิบัติการ และโรงประลอง (Academic building, Laboratory and Workshop) ในความรับผิดชอบ ดังน้ี

อาคาร EN 1 เปนอาคารปฏิบัติการทางวิศวกรรมโยธาและวิศวกรรมเคมี (CE & ChE) อาคาร EN 2 เปนอาคารปฏิบัติการทางวิศวกรรมอุตสาหการและวิศวกรรมเคมี (IE & ChE) อาคาร EN 3 เปนอาคารปฏิบัติการทางวิศวกรรมเครื่องกล และวิศวกรรมอุตสาหการ (ME & IE) อาคาร EN 4 เปนอาคารปฏิบัติการทางวิศวกรรมเครื่องกล (ME) อาคาร EN 5 เปนอาคารปฏิบัติการทางวิศวกรรมอุตสาหการ (IE) อาคาร EN 6 อาคารเรียนรวม หองประชุม สัมมนา สํานักงานภาควิชา สํานักงานคณบดี ศูนยคอมพิวเตอร งาน

บริการสารสนเทศทางการศึกษา (Classroom, Seminar, Computer, IT, Library, Dean Office) อาคาร CLB 1 (เฉพาะ ช้ัน 1 และชั้น 2) เปนอารคารปฏิบัติการทางวิศวกรรมไฟฟา (EE)

โดยมีรายละเอียดเกี่ยวกับพื้นท่ีใชสอย ดังนี้

อาคาร พื้นท่ีใชสอย (ตารางเมตร)

EN-1 EN-2 EN-3 EN-4 EN-5 EN-6 CLB-1 รวม Total สรางเมื่อ พ.ศ. Year 2531 2532 2532 2533 2537 2546 2534 จํานวนชั้น Stories 1 1/2 1 1/2 1 1/2 1 1/2 3 6 3 หองเรียน Rooms - - - 82 988 2,991 1,248 5,309 สารสนเทศ IT 160 - - - - 1,329 - 1,489 คอมพิวเตอร Comp. - - 140 47 - 500 - 687 หองปฏิบัติการ Workshop 950 997 709 1,135 1,856 850 252 6,749 หองพักอาจารย Faculty 198 53 615 43 148 1,590 356 3,003 สํานักงาน Office - - - - - 955 - 955 หองประชุม Meeting room. - 0 58 - - 1,338 - 1,396 วัสดุหรือเคร่ืองมือ Store 8 53 0 14 - - - 75 หองปฏิบัติการเคมี Lab. 177 517 - - - - - 694 หองน้ําและอื่นๆ Toilet 51 52 35 35 51 1,260 180 1,664 ที่วาง Circulation 276 239 573 84 562 6,065 1,037 8,836

รวม 1,820 1,911 2,130 1,440 3,605 16,876 3,073 30,855 ตารางที่ 1 อาคารและพื้นที่ใชสอยของคณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยอุบลราชธาน ี

Page 11: แผนการบริหารทร ัพยากรบ ุคคลweb.eng.ubu.ac.th/~personnel/personneldata/HRD plan2550... · 2019-05-15 · แผนการบริหารทร

7

แผนบริหารทรัพยากรบุคคล คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี 2550-2560

พ้ืนที่ในรอบเขตการศึกษาในความรับผิดชอบ คณะวิศวกรรมศาสตร มีพื้นที่ในเขตการศึกษาที่ไดรับมอบหมายจากมหาวิทยาลัยอุบลราชธานีใหดูแล จํานวน 68,964 ตรม. ไดแกพ้ืนที่รอบอาคาร EN 1-2-3-4-5-6

รูปที่ 2.2 พ้ืนที่ในความดูแลของคณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี ท่ีมา : http://web.ubu.ac.th/aboutubu/ubumap.html

2.3 ยุทธศาสตรและท่ีมาของยุทธศาสตร คณะวิศวกรรมศาสตรไดกําหนดงแผนกลยุทธ หรือแผนยุทธศาสตร เพื่อใชเปนกรอบชี้นําทิศทางที่ชวยใหหนวยงาน หรือองคกรพัฒนาตนเองไดทันกับสภาพ และการเปลี่ยนแปลงไดอยางเหมาะสม โดยใหความสําคัญกับการศึกษาวิเคราะหบริบท และสภาพแวดลอมภายนอกหนวยงานเปนประเด็นสําคัญ ภายใตระบบงบประมาณแบบมุงเนนผลงาน (Performance Based Budgeting) ซึ่งสํานักงบประมาณกําหนดใหสวนราชการและหนวยงานในสังกัด จัดทํากอนที่จะกระจายอํานาจดานงบประมาณโดยการจัดสรรงบประมาณลงไปยังหนวยงานและภาควิชา แผนยุทธศาสตรของคณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี เกิดขึ้นจากความรวมมือของบุคลากรของคณะวิศวกรรมศาสตรท่ีชวยกันระดมศักยภาพผานกระบวนการสัมมนาบุคลากรและการประชุมเชิงปฏิบัติการ เพื่อผลักดันใหเกิดการใชทรัพยากร เพื่อการพัฒนาอยางมีประสิทธิภาพและมีเปาหมายขององคกรอยางชัดเจน อันจะนําไปสูความสําเร็จของการปฏิรูปการศึกษาและสอดคลองกับยุทธศาสตรของมหาวิทยาลัยอุบลราชธานี และยุทธศาสตรของชาติโดยมีกระบวนจัดทําอยางเปนระบบ คือ

พ้ืนที่ในความดูแลของคณะวิศวกรรมศาสตร

Page 12: แผนการบริหารทร ัพยากรบ ุคคลweb.eng.ubu.ac.th/~personnel/personneldata/HRD plan2550... · 2019-05-15 · แผนการบริหารทร

8

แผนบริหารทรัพยากรบุคคล คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี 2550-2560

1. การวิเคราะหศักยภาพการพัฒนา (SWOT Analysis) โดยพิจารณาปจจัยตางๆ ท้ังภายนอก และภายในองคกร เพ่ือกําหนดจุดแข็งจุดออน โอกาส และอุปสรรค อันเปนพ้ืนฐานสําคัญในการวางแผนยุทธศาสตร โดยไดผลวิเคราะหศักยภาพการพัฒนา - SWOT Analysis จากปจจัยแวดลอมภายในและภายนอก คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี พบจุดแข็ง (Strengths), จุดออน (Weakness) โอกาส (Opportunities) และอุปสรรค (Threats) ดังนี้

ตารางที่ 2 การวิเคราะห SWOT

ประเด็น รายการ จุดแข็ง (Strengths : S)

1) ความเปนสถาบันใหม มีพื้นที่วางสําหรับการพัฒนาอีกมาก 2) มีความสามารถบริการวิชาการแกอุตสาหกรรมและชุมชน 3) คณาจารยสวนใหญมีคุณวุฒิสูง เปนคนรุนใหมอายุเฉลี่ยคอนขางนอย และมีจิตสํานึก

ดีในการพัฒนาองคกร 4) มีโครงสรางหลักสูตรที่ทันสมัย 5) หลักสูตรสามารถตอบสนองความตองการของภาคอุตสาหกรรมไดดี 6) ไดเปรียบเชิงพื้นที่ (เปนคณะวิศวกรรมศาสตรท่ีอยูในพื้นที่อีสานตอนลางสามารถ

รองรับนักเรียน/ประชาชนที่ตองการศึกษาในพื้นที่ใกลเคียงรวมทั้งประเทศเพื่อนบาน)

จุดออน (Weakness: W)

1) การสงเสริมวัฒนธรรมที่ดีขององคกร* 2) การกระตุนติดตามนโยบายไปสูการปฏิบัติ* 3) การจัดสรรงบประมาณยังไมเหมาะสมกับภารกิจของแตละหนวยงาน* 4) ขาดการวิเคราะหการตลาด* 5) ปญหาเรื่องคุณภาพนักศึกษา* 6) การประชาสัมพันธ ยังไมสัมฤทธิ์ผล* 7) การเชื่อมตอ (Connection) กับภาคอุตสาหกรรม* 8) ขาดขอมลูพื้นฐานของทองถิ่นในการตัดสินใจ*

โอกาส (Opportunities: O)

1) อุปสงคของการศึกษาระดับอุดมศึกษาสูงขึ้น 2) อุปสงคของภาคอุตสาหกรรมสูงขึ้น 3) โอกาสของคณะในการกําหนดทิศทางของตนเอง 4) โอกาสในการเชื่อมตอนโยบายของคณะฯ กับนโยบายสําคัญ ของรัฐบาล

อุปสรรค (Threats: T)

1) การแขงขันระหวางสถาบันการศึกษา 2) งบประมาณลดลง 3) คานิยมของสังคมในการเขาเรียนในสถาบันเกาแก

Page 13: แผนการบริหารทร ัพยากรบ ุคคลweb.eng.ubu.ac.th/~personnel/personneldata/HRD plan2550... · 2019-05-15 · แผนการบริหารทร

9

แผนบริหารทรัพยากรบุคคล คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี 2550-2560

หมายเหตุ (*) ภายหลัง จุดออนดังกลาวไดถูกแกไข โดยยุทธศาสตร แผนกลยุทธและเปาหมาย ซึ่งปรากฏผลสัมฤทธิ์ ในกระบวนประกันคุณภาพ

2. การนําผลของการวิเคราะหศักยภาพมากําหนดเปนวิสัยทัศน เปาประสงค ประเด็นยุทธศาสตรและยุทธศาสตร ซึ่งจะทําให คณะวิศวกรรมศาสตรเปนองคกรที่เห็นทิศทาง เปาหมาย และประเด็นยุทธศาสตรสําคัญ (Strategic Issues) ประกอบดวย 1) การผลิตบัณฑิต 2) การผลิตงานวิจัย สิ่งประดิษฐ นวัตกรรม และการถายทอดเทคโนโลยี 3) การสรางเครือขายความรวมมือกับองคกรอื่นๆ การพัฒนาคุณภาพชีวิตของบุคลากร และ 4) การปรับปรุงระบบการบริหารงาน

3. การนํายุทธศาสตรไปแปลงเปนกลยุทธ มาตรการ แผนงานและโครงการ เพ่ือนํายุทธศาสตรท่ีไดกําหนดไวแลวไปสูการปฏิบัติ ปรัชญา

“คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี จะเปนสติปญญาของสังคม ท่ีเอื้ออํานวยใหสังคมแกปญหา และพัฒนาไปอยางสมดุลและย่ังยืน โดยการพัฒนาความเปนเลิศทางวิชาการ เพ่ือการบริหารจัดการเทคโนโลยี ทรัพยากรธรรมชาติ และส่ิงแวดลอม อยางมีประสิทธิภาพและประหยัด” วิสัยทัศน

“เปนกําลังหลักในการศึกษา วิจัยและพัฒนาดานวิศวกรรมของภาคตะวันออกเฉียงเหนือ” เปาประสงค 1) จํานวนและคุณภาพของบัณฑิตเพิ่มขึ้น 2) จํานวนงานวิจัย สิ่งประดิษฐ นวัตกรรม และการถายทอดเทคโนโลยีเพิ่มขึ้น 3) จํานวนความรวมมือกับองคกรอื่นๆ ในภูมิภาคเพิ่มขึ้น 4) สงเสริมคุณภาพชีวิตของบุคลากร 5) วางยุทธศาสตรการเตรียมความพรอมของระบบการบริหารเพ่ือเปนมหาวิทยาลัยในกํากับ ประเด็นยุทธศาสตร 1) การผลิตบัณฑิต2) การผลิตงานวิจัย สิ่งประดิษฐ นวัตกรรม และการถายทอดเทคโนโลยี 3) การสรางเครือขายความรวมมือกับองคกรอื่นๆ 4) การพัฒนาคุณภาพชีวิตของบุคลากร 5) การปรับปรุงระบบการบริหารงาน 2.4 การจัดทํายุทธศาสตร คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี เพื่อใหบรรลุตามวิสัยทัศน คณะวิศวกรรมศาสตร ไดกําหนดยุทธศาสตร(Strategies)ในชวงป 2546-2548ไว 5 ขอ คือ1) การเพิ่มศักยภาพในการผลิตบัณฑิต 2) การเพิ่มขีดความสามารถดานการวิจัย การพัฒนาสิ่งประดิษฐ นวัตกรรมและการถายทอดเทคโนโลยี 3) ยุทธศาสตรการสรางเครือขายทางวิชาการกับสถาบันการศึกษาอุตสาหกรรมและชุมชน 4) การสงเสริมวัฒนธรรมองคกรและการพัฒนาคุณภาพชีวิตของบุคลากร 5) การเตรียมความพรอมของระบบการบริการเพื่อเปนมหาวิทยาลัยในกํากับ แตในป 2549 คณะไดปรับยุทธศาสตรเพื่อใหครอบคลุมมาตรฐานคุณภาพตามกรอบการประเมินคุณภาพและไดนํายุทธศาสตรไปแปลงเปนกลยุทธ มาตรการ ดังนี้

Page 14: แผนการบริหารทร ัพยากรบ ุคคลweb.eng.ubu.ac.th/~personnel/personneldata/HRD plan2550... · 2019-05-15 · แผนการบริหารทร

10

แผนบริหารทรัพยากรบุคคล คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี 2550-2560

ยุทธศาสตรที ่ 1. คุณภาพบัณฑิต กลยุทธท่ี 1.การขยายโอกาสทางการศึกษา เปาประสงค 1.ใหนักศึกษาในพื้นที่ยากจน ไดมีโอกาสทางการศึกษามากขึ้น ตัวช้ีวัด รอยละการเพิ่มขึ้นของจํานวนนักศึกษาที่ยากจน ดอยโอกาส เปาหมาย รอยละ 5 ตอป มาตรการ 1. ปรับปรุงระบบโควตาใหมีประสิทธิภาพมากขึ้น 2. ใหทุนศึกษาแกนักเรียนที่ผลการเรียนดีใหกวางขวางมากขึ้น 3. จัดทําระบบ GIS ของโรงเรียนในพื้นท่ีบริการ 4. ใหทุนการศึกษาแกนักเรียนที่ผาน คาย Olympic วิชาการสนับสนุนการศึกษาทางเลือก กลยุทธท่ี 2.การประชาสัมพันธ เปาประสงค 1.ประชาสัมพันธคณะวิศวกรรมศาสตร และมหาวิทยาลัยอุบลราชธานี ตัวช้ีวัด ประชาสัมพันธคณะวิศวกรรมศาสตร และมหาวิทยาลัยอุบลราชธานี เปาหมาย รอยละ 5 ตอป มาตรการ 1. การสงเสริมกิจกรรมนักศึกษาที่สามารถสรางช่ือเสียง 2. การสงเสริมกิจกรรมของสมาคมศิษยเกา 3. การจัดกิจกรรมรวมกับอาจารยแนะแนวของโรงเรียนระดับมัธยมศึกษา 4. สนับสนุนการประกวดสิ่งประดิษฐ ในระดับมัธยมและอาชีวศึกษา กลยุทธท่ี 3.สรางแรงจูงใจใหนักศึกษาทําผลการเรียนใหดีขึ้น เปาประสงค 1.ใหนักศึกษามีระดับผลการเรียนในเกณฑดี ตัวช้ีวัด รอยละของนักศึกษาท่ีมีผลการเรียนอยูในเกณฑดีเพิ่มขึ้น เปาหมาย รอยละ 10 ตอภาคการศึกษา มาตรการ 1. มีรางวัลเชิดชูเกียรติใหกับนักศึกษาที่มีผลการเรียนเปนอันดับ 1 และ 2 ของภาควิชา

1. ใหทุนการศึกษานักศึกษาปจจุบันที่มีผลการเรียนดี 2. ใหทุนการศึกษาตอในระดับบัณฑิตศึกษา 3. มีระบบประกันการไดงาน ของนักศึกษาที่มีผลการเรียนดี 4. เทียบโอนใหนักศึกษาโครงการพิเศษที่มีผลการเรียนดีเขาสูระบบปกติโดยไมตองสอบ Entrance ใหม

5. ประกาศชื่อผูทําคะแนนสูงสุดในการสอบแตละภาคการศึกษาบน Web Site กลยุทธท่ี 4. เพิ่มคุณภาพของการผลิตบัณฑิต เปาประสงค นักศึกษาที่สําเร็จการศึกษามีประสิทธิภาพ ตัวช้ีวัด 1.รอยละของบัณฑิตที่ไดงานทํา

2.รายไดเร่ิมตนของบัณฑิต 3.ความพึงพอใจของนายจาง

Page 15: แผนการบริหารทร ัพยากรบ ุคคลweb.eng.ubu.ac.th/~personnel/personneldata/HRD plan2550... · 2019-05-15 · แผนการบริหารทร

11

แผนบริหารทรัพยากรบุคคล คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี 2550-2560

เปาหมาย รอยละ 90 ตอภาคการศึกษา มาตรการ 1. พัฒนาคณุภาพงานบริการนักศึกษา 2. กําหนดหลักสูตรใหสอดคลองกับความตองการของภาคอตุสาหกรรม 3. ปรับปรุงระบบอาจารยท่ีปรึกษา 4. รักษาสัดสวนการเพิ่มของอาจารย ใหมีความสัมพันธกับการเพิ่มของนักศึกษา 5. ใหความสําคัญกับรายวิชาฝกงานและวิชาชีพมากขึ้นแกปญหาผลการศึกษาในวิชาพื้นฐานทางคณิตศาสตรและวิทยาศาสตร กลยุทธท่ี 5. เพิ่มคุณสมบติัพิเศษใหกับบัณฑิต เปาประสงค นักศึกษาที่สําเร็จการ ศึกษามีประสิทธิภาพตรง มีคุณสมบัติตามความตองการของตลาดแรงงาน ตัวช้ีวัด รอยละของนักศึกษาท่ีไดงานทํา เปาหมาย รอยละ 90 ตอภาคการศึกษา มาตรการ 1. จัดการสอนภาษาอังกฤษใหกับนักศึกษา 2. เพิ่มสัดสวนการใชวิทยากรท่ีมีประสิทธิภาพสูงจากภายนอก 3. อบรมหลักสูตร (Course) พิเศษ ใหนักศึกษา เพื่อเพิ่มความสามารถในการใชเทคโนโลยีใหม 4. สงเสริมกิจกรรมของนักศึกษา ยุทธศาสตรที ่ 2. งานวิจัยและงานสรางสรรค กลยุทธท่ี 1. เพิ่มแรงจูงใจในการทําวิจัย เปาประสงค เพื่อใหอาจารยทําวิจัยมากขึ้น ตัวช้ีวัด รอยละการเพิ่มขึ้นของจํานวนผลงานวิจัย เปาหมาย รอยละ 5 ตอป มาตรการ 1. กําหนดหลักเกณฑเงินเพิ่มพิเศษ 2. นําระบบภาระงานวิจัยมาใช 3. สงเสริมการนําผลการวิจัยไปสูการจดลิขสิทธิ์และสิทธิบัตร 4. กระตุนใหอาจารยทําการวิจัยผนวกกับการสอน 5. จัดสรรงบประมาณในการเผยแพรงานวิจัย กลยุทธท่ี 2. ยกระดับมาตรฐานงานวิจัย เปาประสงค 1.ใหอาจารยสราง สรรคงานวิจัยใหม ๆ มากขึ้น 2.ใหนักศึกษามีโอกาสนําเสนอปริญญานิพนธตอบุคคลภาย นอกมากขึ้น ตัวช้ีวัด 1.รอยละที่เพิ่มขึ้นของจํานวนผลงานวิจัย 2.มีโครงการ วิจัยรวมกับหนวยงานภายนอก เปาหมาย รอยละ 5 ตอป มาตรการ 1. พัฒนาระบบฐานขอมลูเพ่ือการคนควาและวิจัย

Page 16: แผนการบริหารทร ัพยากรบ ุคคลweb.eng.ubu.ac.th/~personnel/personneldata/HRD plan2550... · 2019-05-15 · แผนการบริหารทร

12

แผนบริหารทรัพยากรบุคคล คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี 2550-2560

2. ใหมี Workshop พิเศษ สําหรับสิ่งประดิษฐและนวัตกรรม 3. สรางโครงการสหวิทยาการ (Multidisciplinaries) ของคณะ 4. ยกระดับมาตรฐานของโครงงานนักศึกษา 5. ออกวารสารวิชาการที่มีมาตรฐานสูง 6. จัดประกวดโครงงานนักศึกษา และงานวิจัยทุกป ยุทธศาสตรที ่ 3. การบริการวิชาการ กลยุทธท่ี 1. การสรางเครือขายทางวิชาการกับสถาบันการศึกษาอื่น เปาประสงค ใหบริการทางวิชาการแกชุมชน ตัวช้ีวัด รอยละที่เพิ่มขึ้นของจํานวนโครงการบริการวิชาการที่สรางสรรค เปาหมาย รอยละ 5 ตอป มาตรการ 1. สงเสริมการถายทอดเทคโนโลยีใหกับสถาบันการศึกษาอื่น 2. พัฒนาระบบการแลกเปลี่ยนนักศึกษา และ Staff กับสถาบันอื่นทั้งในและนอกประเทศ 3. มีการสํารวจและใชฐานขอมูลของนักวิจัย ในสถาบันการศึกษาอื่น 4. จัดประชุมวิชาการรวมกับสถาบันการศึกษาอื่น กลยุทธท่ี 2. สรางเครือขายทางวิชาการกับภาคอุตสาหกรรมและชุมชน เปาประสงค 1. เกิดความรวมมือในการใหบริการทางวิชาการแกชุมชน

2. สรางความ สัมพันธทางวิชาการอันดีระหวางภาครัฐกับภาค อุตสาหกรรมและความสัมพันดานเทคโนโลยีและภูมิปญญาทองถิ่น กับชุมชน

ตัวช้ีวัด รอยละที่เพิ่มขึ้นของจํานวนกิจ กรรมที่เปนความรวมมือระหวางคณะวิศวกรรม ศาสตรกับภาค อุตสาหกรรมและชุมชน

เปาหมาย รอยละ 5 ตอป มาตรการ 1. สํารวจและใชฐานขอมูลของสภาอุตสาหกรรมและหอการคาอยางเปนระบบ 2. จัดใหมี MOU กับอุตสาหกรรมขนาดใหญและเปนตลาดแรงงานที่มีศักยภาพ 3. ใชระบบที่ปรึกษารวม (สถาบันอุดมศึกษา: อุตสาหกรรม) ในการทําโครงงานนักศึกษา 4. จัดกิจกรรมทางดานวิทยาศาสตร และเทคโนโลยีท่ีอยูในความสนใจของประชาชน 5. สนับสนุนใหมีการวิจัยเพื่อตอยอดภูมิปญญาทองถิ่น 6. จัดกิจกรรมที่เปนประโยชนกับการพัฒนาชุมชนรอบๆ มหาวิทยาลัย 7. จัดวัน Open Day ของคณะวิศวกรรมศาสตร 8. สงเสริมการทําโครงงานนักศึกษาที่แกปญหาในภาคอุตสาหกรรมและชุมชน

Page 17: แผนการบริหารทร ัพยากรบ ุคคลweb.eng.ubu.ac.th/~personnel/personneldata/HRD plan2550... · 2019-05-15 · แผนการบริหารทร

13

แผนบริหารทรัพยากรบุคคล คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี 2550-2560

ยุทธศาสตรที ่ 4. การทํานุบํารุงศิลปและวัฒนธรรม กลยุทธท่ี 1. สงเสริมวัฒนธรรมท่ีดีขององคกร เปาประสงค เกิดวัฒนธรรมและความ สัมพันธ ท่ีดีขึ้นในองคกร ตัวช้ีวัด ความพึงพอใจของบุคลากรที่มีตอคุณภาพชีวิตการทํางาน (QWL) เปาหมาย ผูปฏิบัติงานมีความสัมพันธอันดีตอกัน สงผลใหระบบการทํางานมีประสิทธิภาพ มาตรการ 1. สนับสนุนใหมีมุมกาแฟภายในคณะ 2. สนับสนุนกิจกรรมสรางความสัมพันธระหวางบุคลากร 3. ปรับโครงสรางบุคลากรระหวางสายวิชาการ และสายสนับสนุนใหมีสัดสวนที่เหมาะสมมากขึ้น 4. ปรับปรุงสโมสรของคณะใหดีขึ้น ยุทธศาสตรที ่ 5. พัฒนาสถาบันและบุคลากร กลยุทธท่ี 1. กระจายอํานาจและภาระงานใหภาควิชามากขึ้น เปาประสงค เพื่อใหองคกรมีธรรมาภิบาลสูงขึ้น ตัวช้ีวัด องคประกอบของธรรมาภิบาล เปาหมาย ทุกคนในองคกรมีสวนรวม มาตรการ 1. มอบอํานาจการบริหารงานบางสวนใหภาควิชา 2. เพิ่มเจาหนาที่สายสนับสนุนใหภาควิชา 3. ใชอัตราสวน อาจารยตอนักศึกษา ในการจัดอัตรากําลังสายอาจารยใหแกภาควิชา กลยุทธท่ี 2. ปรับปรุงระบบการบริหารงาน เปาประสงค 1.มีระบบสารสนเทศเพื่อการบริหารจัดการอยางมีประสิทธิภาพ 2.มีระบบตรวจสอบภายในที่มีประสิทธิ ภาพ เชื่อถือได 3.ระบบรายงานผลดําเนินงานทันสมัย นาเช่ือถือ อางอิงได ตัวช้ีวัด มีการรายงานผลการดําเนินงานโดยใชระบบสารสนเทศเพื่อการบริหารจัดการ เปาหมาย มีโปรแกรมสําเร็จรูปหรือระบบฐานขอมูลท่ีมปีระสิทธิภาพ มาตรการ 1. พัฒนาระบบสารสนเทศ เพื่อการบริหารและการจัดการ 2. พัฒนาระบบจัดการฐานขอมูลเพื่อการตัดสินใจ 3. พัฒนาระบบการตรวจสอบภายในที่เนนผลงานตามยุทธศาสตร 4. ปรับปรุงระบบการรายงานใหถูกตองและรวดเร็ว กลยุทธท่ี 3. พัฒนาคณุภาพชีวิตของบุคลากร เปาประสงค บุคลากรมีคุณภาพชีวิตดี ตัวช้ีวัด จงรักภักดีองคกร เปาหมาย สภาพแวดลอมในการทํางานดี มาตรการ 1. ใหมีคาตอบแทนที่เหมาะสมกับภาระงาน

Page 18: แผนการบริหารทร ัพยากรบ ุคคลweb.eng.ubu.ac.th/~personnel/personneldata/HRD plan2550... · 2019-05-15 · แผนการบริหารทร

14

แผนบริหารทรัพยากรบุคคล คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี 2550-2560

2. จัดสิ่งแวดลอมในหองทํางานใหเหมาะสมมากขึ้น 3. จัดสิ่งแวดลอมใหมีความรมร่ืนมากยิ่งขึ้น 4. มีสถานที่จอดยานพาหนะที่เหมาะสม กลยุทธท่ี 4. พัฒนาความรูของบุคลากร เปาประสงค บุคลากรมีความรู ความสามารถในงานเพิ่มขึ้น ตัวช้ีวัด การปฏิบัติงานมีประสิทธิภาพ เปาหมาย ประสิทธิภาพการปฏิบัติ งานเพิ่มมากขึ้น สามารถวัดไดจาก 1)ความรวดเร็วในการทํางาน2)ความ รอบรูในงาน 3)ความถูกตองของขอ มูลท่ีเกี่ยว กับงาน 4)ระยะเวลาการปฏิบัติ งานที่เหมาะสม 5)งาน ไมคาง มาตรการ 1. จัดอบรมเพิ่มพูนความรูดานการใชโปรแกรมคอมพิวเตอรใหม ๆ 2. จัดอบรมความรูดานภาษาอังกฤษ 3. สงเสริมการศึกษาดูงานที่หนวยงาน/สถาบันภายนอก 4. สงเสริมการเขารวมอบรม/สัมมนา ท่ีจัดโดยหนวยงาน/สถาบันภายนอก 5. สงเสริมดานจริยธรรมใหแกบุคลากร ยุทธศาสตรที ่ 6. หลักสูตรและการเรียนการสอน กลยุทธท่ี 1. ปรับปรุงและพัฒนาการศึกษา เปาประสงค นักศึกษาที่สําเร็จการศึกษามีประสิทธิภาพตรง มีคุณสมบัติตามความตองการของตลาดแรงงาน ตัวช้ีวัด รอยละของนักศึกษาท่ีไดงานทํา เปาหมาย รอยละ 90 ตอปการศึกษา มาตรการ 1. ปรับปรุงและพัฒนาหลักสูตรใหมีความทันสมัย มีความยืดหยุน สอดคลองกับความตองการของ ทองถิ่นและภูมภิาค 2. สงเสริมการพัฒนาหลักสูตรสหวิทยาการ ท่ีบูรณาการความรูหลากหลายสาขาวิชา รวมทั้งความรู ทองถิ่นและเทคโนโลยีท่ีเหมาะสม 3. สามารถเขาถึงระบบ Computer ของมหาวิทยาลัยจากบาน กลยุทธท่ี 2. พัฒนาการเรียนการสอน เปาประสงค นักศึกษากับอาจารยผูสอนมีความสัมพันธอันดีตอกัน ตัวช้ีวัด รอยละของนักศึกษาท่ีสอบผานในรายวิชา เปาหมาย รอยละ 90 ตอปการศึกษา มาตรการ 1. จัดอบรมใหอาจารยใหม 2. สงเสริมการสอน โดยเนนผูเรียนเปนสําคัญ 3. มีระบบการประเมินการสอนของอาจารยท่ีเหมาะสม 4. สงเสริมการเรียนรูดวยตนเอง

Page 19: แผนการบริหารทร ัพยากรบ ุคคลweb.eng.ubu.ac.th/~personnel/personneldata/HRD plan2550... · 2019-05-15 · แผนการบริหารทร

15

แผนบริหารทรัพยากรบุคคล คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี 2550-2560

5. จัดทํา E-Learning อยางนอยรอยละ 50 ของรายวิชาที่เปดสอน ยุทธศาสตรที ่ 7. การประกันคุณภาพ กลยุทธท่ี 1. พัฒนาระบบการประกันคุณภาพทางการศึกษา เปาประสงค เพื่อยกระดับมาตรฐานระบบการประกันคุณภาพทางการศึกษา ตัวช้ีวัด มีเกณฑมาตรฐานและตัวชี้วัดคุณภาพทางการศึกษาเชื่อถือได เปาหมาย ตัวช้ีวัดคุณภาพการศึกษาสอด คลองกับยุทธศาสตรของหนวยงาน มหาวิทยาลัยและยุทธศาสตรชาติ มาตรการ 1. มีมาตรฐานและตัวช้ีวัดคุณภาพการศึกษาที่สอดคลองกับยุทธศาสตรมหาวิทยาลัยและยุทธศาสตร ชาติ 2. มีระบบการจัดการฐานขอมลูเพื่อการตัดสินใจที่เปนระบบ และสอดคลองกับการประกันคุณภาพ ทางการศึกษา กลยุทธท่ี 2. พัฒนาระบบการประกันคุณภาพทางการศึกษา เปาประสงค เพื่อยกระดับมาตรฐานระบบการประกันคุณภาพทางการศึกษา ตัวช้ีวัด มีเกณฑมาตรฐานและตัวชี้วัดคุณภาพทางการศึกษาเชื่อถือได เปาหมาย ตัวช้ีวัดคุณภาพทางการศึกษาสอดคลองกับยุทธศาสตรของหนวยงาน มหาวิทยาลัยและยุทธศาสตร ชาติ มาตรการ 1. มีมาตรฐานและตัวช้ีวัดคุณภาพการศึกษาที่สอดคลองกับยุทธศาสตรมหาวิทยาลัยและยุทธศาสตร ชาติ 2. มีระบบการจัดการฐานขอมลูเพื่อการตัดสินใจที่เปนระบบ และสอดคลองกับการประกันคุณภาพ ทางการศึกษา 3. การมีสวนรวมของทุกฝายในการประกันคุณภาพการศึกษา

4. แตงต้ังตัวแทนกรรมการประกันคุณภาพท่ีมีตัวแทนมาจากทุกหนวยงาน 5. ประชาสัมพันธการประกันคุณภาพอยางตอเนื่อง 6. นําผลการประกันคุณภาพดานตาง ๆ มาปรับปรุงแกไข

หมายเหต ุยุทธศาสตร กลยุทธ เปาประสงค ตัวชี้วัด มาตรการ และเปาหมาย น้ี เปนยุทธศาสตรท่ีถูกปรับปรุงในป 2549

Page 20: แผนการบริหารทร ัพยากรบ ุคคลweb.eng.ubu.ac.th/~personnel/personneldata/HRD plan2550... · 2019-05-15 · แผนการบริหารทร

16

แผนบริหารทรัพยากรบุคคล คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี 2550-2560

รูปที่ 2.3 ความเชื่อมโยงยุทธศาสตรคณะวิศวกรรมศาสตร ยุทธศาสตรมหาวิทยาลัยอุบลราชธานี ยุทธศาสตรระดบักระทรวงและยุทธศาสตรระดบัชาต ิ

ที่มา : คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี.2550.แผนยุทธศาสตรคณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยอบุลราชธานี 2549-2650. จากแผนภูมิแสดงความเชื่อมโยงระหวางยุทธศาสตรขางตน สามารถสรุปความเชื่อมโยงระหวางยุทธศาสตรของคณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี กับยุทธศาสตรศาสตรชาติ ดังแสดงในตารางที่ 2.3

ยุทธศาสตรที่ 2 พัฒนาคนและสงัคมทีมี่คุณภาพ(552.4986 ลานบาท)

ยุทธศาสตรที่ 3 ปรับโครงสรางเศรษฐกิจใหขยายตัวอยางสมดุล (33.5012 ลานบาท)

สรางสังคมแหงการเรียนรูตลอดชีวิตพัฒนาคนใหมีความรูคูคุณธรรมและ

จริยธรรม (542.5731 ลานบาท)

อนุรักษ สืบทอดประเพณี วัฒนธรรมฯ และพัฒนาภูมิปญญา(9.9255 ลานบาท)

พัฒนาวิทยาศาสตร เทคโนโลยี วิจัยและนวัตกรรม

(33.5012 ลานบาท)

ประชาชนไดรับการศึกษาและการเรียนรูตลอดชีวิตที่มีมาตรฐาน คุณภาพ

(542.5731 ลานบาท)

ประชาชนไดรับความรูและเขาใจเกีย่วกับศิลปวัฒนธรรมไทย (9.9255 ลานบาท)

การเพ่ิมการวิจัยและพัฒนาเพ่ือตอบสนองทิศทางการพัฒนาประเทศและเพ่ิมจํานวนศูนยบมเพาะวิสาหกิจในสถาบันการศึกษา

(33.5012 ลานบาท)

หนวยงานภาครัฐและเอกชน/ผูรับบริการไดรับบริการความรูนวัตกรรมและนําผลงานวิจัยไปใชในการพัฒนาองคความรูในการพัฒนาดาน

ตางๆ เพ่ิมข้ึน (33.5012 ลานบาท)

ขยายการผลิตบัณฑิตและพัฒนาคุณภาพ

การศึกษาท่ีเพิ่มข้ึนตามความตองการของตลาด(237.4450 ลานบาท)

หนวยงานและผูรับ บริการ ไดรับบริการวิชา การและองคความรูเพื่อพัฒนาตนเอง หนวยงาน

และชุมชน (18.1826 ลานบท)

เรงรัดการผลิตกําลังคนดาน

วิทยาศาสตรและเทคโนโลยีเพิ่มข้ึน

(286.9455 ลานบาท)

ผูรับบริการมีความรู คุณ ธรรม คุณภาพ รวมพัฒนาสังคม

(9.9255 ลานบาท)

ยุทธศาสตรการจัดสรรงบประมาณ

ผลงานวิจัยเพื่อสรางองคความรู

(11.7298 ลานบาท)

ผูสําเร็จการศึกษาดานสังคมศาสตร

(169.5170 ลานบาท)

ผลงานบริการวิชาการ(18.1826 ลานบท)

ผูสําเร็จการศึกษาดานวิทยาศาสตร

สุขภาพ(70.3486 ลานาท)

ผลงานทํานุบํารุงศิลปวัฒนธรรม (

9.9255 ลานบาท)

คณะวิศวฯ (1.5093 ลานบาท)

ยุทธศาสตรท่ี 2

แผนงบประมาณ

เปาหมายบริการ

กระทรวง

เปาหมายใหบริการหนวยงาน

ผลงานวิจัยเพื่อถายทอดเทคโนโลยี(21.7714 ลานบาท)

คณะวิศวฯ(2.2691 ลานบาท)

ยุทธศาสตรท่ี 2

โครงการผลิตแพทยและพยาบาลเพิ่ม

(67.9280 ลานบาท)

คณะวิศวกรรมศาสตร(2.3688 ลานบาท)

ยุทธศาสตรท่ี 3

ผูสําเร็จการศึกษาดานวิทยาศาสตรและ

เทคโนโลยี(216.5969 ลานบาท)

คณะวิศวกรรมศาสตร(30,4183 ลานบาท)

ยุทธศาสตรท่ี 1, 5, 6, 7

คณะวิศวกรรมศาสตร(0.9262 ลานบาท)

ยุทธศาสตรท่ี 4

ผลผลิต โครงการ

และงบประมาณ

มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี

คณะวิศวกรรมศาสตร ม.อบ.

หมายเหตุ

Page 21: แผนการบริหารทร ัพยากรบ ุคคลweb.eng.ubu.ac.th/~personnel/personneldata/HRD plan2550... · 2019-05-15 · แผนการบริหารทร

17

แผนบริหารทรัพยากรบุคคล คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี 2550-2560

ตารางที่ 2.3 สรุปความเชื่อมโยงระหวางยุทธศาสตรคณะวิศวกรรมศาสตร ม.อบ กับยุทธศาสตรศาสตรชาติ ยุทธศาสตรคณะวิศวกรรมศาสตร ยุทธศาสตรชาติ

1 คุณภาพบัณฑิต 2 พัฒนาคนและสังคมท่ีมีคุณภาพ 2 การวิจัยและงานสรางสรรค 3 การปรับโครงสรางเศรษฐกิจใหขยายตัวอยางสมดุล 3 บริการวิชาการ 2 พัฒนาคนและสังคมท่ีมีคุณภาพ 4 ทํานุบํารุงศิลปะและวัฒนธรรม 2 พัฒนาคนและสังคมท่ีมีคุณภาพ 5 พัฒนาสถาบันและบุคลากร 2 พัฒนาคนและสังคมท่ีมีคุณภาพ 6 หลักสูตรและการเรียนการสอน 2 พัฒนาคนและสังคมท่ีมีคุณภาพ 7 ประกันคุณภาพ 2 พัฒนาคนและสังคมท่ีมีคุณภาพ

วิจัยและสรางสรร

บริการวิชาการ

ทํานุบํารุงศิลปวัฒนธรรม

พัฒนาสถาบันและบุคลากร

หลักสูตร และการเรียนการสอน

ระบบประกันคุณภาพ

ผลิตบัณฑิต

เสริมสรางการพัฒนาที่ย่ังยืนของประเทศ

พัฒนาสังคม การแกไขปญหาความยากจน และ

ยกระดับคุณภาพชีวิต

ความมั่นคงของชาติ การตางประเทศ การอํานวย

ความยุติธรรม

การบริหารการจัดการประเทศ

เพิ่มศักยภาพในการแขงขันของประเทศ

รูปที่ 2.4 ความเชื่อมโยงยุทธศาสตรคณะคณะวิศวกรรมศาสตร ม.อบ และยุทธศาสตรชาต ิ

ที่มา : คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี.2550.แผนยุทธศาสตรคณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยอบุลราชธานี 2549-2560.

Page 22: แผนการบริหารทร ัพยากรบ ุคคลweb.eng.ubu.ac.th/~personnel/personneldata/HRD plan2550... · 2019-05-15 · แผนการบริหารทร

18

แผนบริหารทรัพยากรบุคคล คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี 2550-2560

2.5 แผนการรับนักศึกษาสาขาวิศวกรรมศาสตร 2.5.1 แผนการรับนักศึกษา คณะวิศวกรรมศาสตร ปการศึกษา 2551 - 2555

วิธีการรับเขา ปการศกึษา

โดยวิธีรับตรง ระบบกลางAdmissions

รวม ใชผลการเรียน (โควตา) รับตรงอื่นๆ สายอาชีพ

(ปวช,ปวส) 19

จังหวัด 8 จังหวัด โครงการพิเศษ

โควตากีฬา

โอลิมปกวิชาการ

ปการศกึษา 2551 10 200 150 20 5 5 240 630

ปการศกึษา 2552 10 210 170 20 5 5 250 670

ปการศกึษา 2553 10 210 170 20 5 5 250 670

ปการศกึษา 2554 10 210 170 20 5 5 250 670

ปการศกึษา 2555 10 210 170 20 5 5 250 670

หมายเหตุ เริ่มรับนักศึกษาสาขาวิศวกรรมสิ่งแวดลอมตั้งแตปการศึกษา 2551 จํานวน 40 คน

Page 23: แผนการบริหารทร ัพยากรบ ุคคลweb.eng.ubu.ac.th/~personnel/personneldata/HRD plan2550... · 2019-05-15 · แผนการบริหารทร

19

แผนบริหารทรัพยากรบุคคล คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี 2550-2560

3. นโยบายและระบบ

System & Policies

3.1 การประกันคุณภาพการศึกษา -QA Principal คณะวิศวกรรมศาสตร ไดมีการประกันคุณภาพการศึกษา ต้ังแตป พ.ศ. 2541 เปนตนมา โดยการประยุกตระบบ

TQM (Total Quality Management) หลักการ 5 ส. เปนพื้นฐาน และหลักการของพุทธศาสนา คือ อิทธิบาท 4 (ฉันทะ วิริยะ จิตตะ วิมังสา) เปนหลักในการทํางาน ท้ังนี้ไดกําหนดมาตรฐานการทํางานในสวนตางๆรวม 9 องคประกอบ (ตามเกณฑของสํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา) และมีการวางนโยบายสนับสนุนการประกันคุณภาพการศึกษารวม 6 นโยบาย 3.1.1 นโยบายสนับสนุนการประกันคุณภาพการศึกษา 6 ดาน - Six categories of QA. policy

1. นโยบายดานการเรียนการสอนและพัฒนานักศึกษา 2. นโยบายดานการวิจัย 3. นโยบายดานการใหบริการทางวิชาการ 4. นโยบายดานการทํานุบํารุงศิลปวัฒนธรรม 5. นโยบายดานการบริหาร 6. นโยบายดานการประกันคุณภาพการศึกษา

3.1.2 องคประกอบคุณภาพ 9 องคประกอบ - Quality Factors

1. ปรัชญา ปณิธาน วัตถุประสงค Vision, Mission, Goal & Target 2. การเรียนการสอน Academic 3. กิจกรรมพัฒนาการศึกษา Student Development 4. การวิจัย Research 5. การบริการวิชาการแกสังคม Academic Services 6. การทํานุบํารุงศิลปะวัฒนธรรม Art & Culture Promotion 7. การบริหารและจัดการ Administration & Management 8. การเงินและงบประมาณ Finance & Budgeting 9. ระบบและกลไกการประกันคุณภาพ Quality Process & Procedure

3.2 นโยบายดานการบริหารงานบุคคล (Human Resource Management Policies)

1. วางแผนกําลังคนอยางเหมาะสมตามกรอบเปาหมายภารกิจ 2. กําหนดกระบวนการคัดเลือกคนเขาสูตําแหนงดวยระบบคุณธรรม และดําเนินการดวยความเปนธรรม

โปรงใส ตรวจสอบได

Page 24: แผนการบริหารทร ัพยากรบ ุคคลweb.eng.ubu.ac.th/~personnel/personneldata/HRD plan2550... · 2019-05-15 · แผนการบริหารทร

20

แผนบริหารทรัพยากรบุคคล คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี 2550-2560

3. สงเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิตของบุคลากรใหมีคุณภาพชีวิตและสวัสดิการที่ดีอันจะนําไปสูความจงรักภักดีองคกร

4. จัดระบบการประเมินผลงานที่มีประสิทธิภาพเปนธรรม เพื่อกําหนดคาตอบแทน สิทธิประโยชน สวัสดิการท่ีเหมาะสมกับภาระงาน สมรรถนะและผลการปฏิบัติงาน

5. วางแผน สงเสริม และ พัฒนาบุคลากรเพื่อใหมีความรูความสามารถเหมาะสมในการเลื่อนระดับ ตําแหนงตามเสนทางกาวหนาตามตําแหนงงาน (Career path) และเกิดความกาวหนาในสายงานหรือวิชาชีพท่ีครองอยู

6. พัฒนาบุคลากรมีความรู ความสามารถในงานเพิ่มขึ้นเพ่ือการปฏิบัติงานมีประสิทธิภาพ ประสิทธิผลโดยสามารถวัดไดจากความรวดเร็วในการทํางาน ความรอบรูในงาน ความถูกตองของขอมูลท่ีเกี่ยวกับงาน ระยะเวลาการปฏิบัติงานที่เหมาะสม

7. สนับสนุนการจัดอบรมเพิ่มพูนความรูดานการใชโปรแกรมคอมพิวเตอรใหม ๆ ความรูดานภาษาอังกฤษ 8. สงเสริมการเขารวมอบรม/สัมมนา ท่ีจัดโดยหนวยงาน/สถาบันภายนอก 9. สงเสริมดานจริยธรรมใหแกบุคลากร

3.3 ระบบการบริหารงานบุคคล (Human Resource Management System ) คณะวิศวกรรมศาสตร ใชระบบบริหารงานบุคคล ตามกฎหมาย โดยแยกตามประเภทของบุคลากรไดแก 1. พระราชบัญญัติระเบียบขาราชการพลเรือนในสถาบันอุดมศึกษา พ.ศ. 2547 แกไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2551 กฎกระทรวงศึกษาธิการ และประกาศ ก.พ.อ. สําหรับบุคลากรที่เปนขาราชการ 2. ระเบียบกระทรวงการคลัง สําหรับบุคลากรที่เปนลูกจางประจํา 3. ขอบังคับสภา มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี สําหรับบุคลากรที่เปนพนักงานและลูกจางชั่วคราว โดยมีกระบวนการดานบริหารงานบุคคลและแนวปฏิบัติโดยสังเขป ดังนี้ 3.3.1 การสรรหา (Recruitment) คณะวิศวกรรมศาสตร มีระบบการสรรหาทรัพยากรบุคคลโดยยึดระบบคุณธรรม (Merit System) ท้ังนี้เปนไปตามพระราชบัญญัติระเบียบระเบียบขาราชการพลเรือนในสถาบันอุดมศึกษา พ.ศ. 2547 และหลักเกณฑและวิธีการที่คณะกรรมการขาราชการพลเรือนในสถาบันอุดมศึกษา ( ก.พ.อ.) กําหนดไว คือ - วีธีการสอบแขงขัน - วิธีการสอบคัดเลือก - วิธีการคัดเลือก 3.3.2 การจายคาตอบแทนและสวัสดิการ ขาราชการใช ระบบการจายเงินเดือนและเงินประจําตําแหนง ตามพระราชกฤษฎีกาวาดวยเงินเดือนและเงินประจําตําแหนง ลูกจางประจําใชระบบคาจางตามระเบียบกระทรวงการคลัง พนักงานไดรับคาจางโดยอิงตามตําแหนงของขาราชการและไดรัเงินคาสวัสดิการตามขอบังคับสภา มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี วาดวยการจายเงินคาสวัสดิการ

Page 25: แผนการบริหารทร ัพยากรบ ุคคลweb.eng.ubu.ac.th/~personnel/personneldata/HRD plan2550... · 2019-05-15 · แผนการบริหารทร

21

แผนบริหารทรัพยากรบุคคล คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี 2550-2560

ลูกจางช่ัวคราวไดรับคาจางโดยอิงตามตําแหนงของขาราชการ 3.3.3 ระบบการประเมิน บุคลากรทุกตําแหนงจะตองถูกประเมินผลการปฏิบัติงานอยางนอยปลี 2 คร้ัง ตามรอบการประเมิน คือ รอบที่ 1 ในชวงเดือนตุลาคม ถึง มีนาคม รอบที่ 2 ในชวงเดือนเมษายนถึง เดือนกันยายน ท้ังนี้มีแบบประเมินแยกตามสายงานคือ แบบประเมินสายอาจารยและแบบประเมินบุคลากรสายสนับสนุน (รายละเอียดปรากฏในหัวขอท่ี 7 ระบบการประเมิน) 3.3.4 ความกาวหนา (Career Path) ในคณะวิศวกรรมศาสตร บุคลากรในสายงานตางๆ สามารถ มีความกาวหนาในสายงานอาชีพของตน ตามประเภทของบุคลากร เชน ขาราชการ พนักงานมหาวิทยาลัย ลูกจางประจําและลูกจางช่ัวคราว โดยความกาวหนาในสายวิชาชีพของแตละตําแหนงและสายงาน ปรากฏตามรายละเอียดในหัวขอท่ี 8 (ระบบความกาวหนาในสายวิชาชีพ) 3.3.5 ระบบการพัฒนา (Training&Developmaent) คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี มีการพัฒนาบุคลากรหลายรูปแบบ เชน 1.) การใหลาศึกษาตอ 2.) การฝกอบรม ดูงาน 3.) การสอนงาน ( Coaching) 4.) การฝกในการปฏิบัติงานจริง (On the Job Training) 5.) การจัดการความรูในองคกร 6.) การศึกษาดวยตนเอง 3.4 โครงการสรางองคกร (Organization) คณะวิศวกรรมศาสตร มีโครงสรางการบริหารงาน ดังรายละเอียดในรูปที่ 3

Page 26: แผนการบริหารทร ัพยากรบ ุคคลweb.eng.ubu.ac.th/~personnel/personneldata/HRD plan2550... · 2019-05-15 · แผนการบริหารทร

22

แผนบริหารทรัพยากรบุคคล คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี 2550-2560

รูปที่ 3 โครงสรางการบริหารงานของคณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยอุบลราชธาน ี

Page 27: แผนการบริหารทร ัพยากรบ ุคคลweb.eng.ubu.ac.th/~personnel/personneldata/HRD plan2550... · 2019-05-15 · แผนการบริหารทร

23

แผนบริหารทรัพยากรบุคคล คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี 2550-2560

3.5 หนวยงานและภารกิจในความรับผิดชอบ จากโครงสรางองคกรในขอ 3.4 คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี มีการจัดแบงหนวยงานภายในตามประกาศทบวงมหาวิทยาลัย ดังนี้

1. ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล – Department of Mechanical Engineering รับผิดชอบภารกิจการสอนตามหลักสูตร วิศวกรรมศาสตรบัณฑิตสาขาวิศวกรรมเครื่องกล (วศ.บ.วิศวกรรมเครื่องกล) วิจัย และบริการทางวิชาการ เกี่ยวกับงานทางดานวิศวกรรมเคร่ืองกลในสาขาหลักๆ ดังนี้

กลศาสตร การออกแบบเครื่องจักรกล และวิศวกรรมยานยนต ( Mechanics, Machine Design & AutomotiveX อุณหพลศาสตร และพลังงาน (Thermodynamic & Energy) วิศวกรรมควบคุม และระบบอัตโนมัติ (Control Engineering & Automation) การประยุกตกลศาสตรของไหล และความรอน (Applied Fluid Mechanics & Heat Transfer)

2. ภาควิชาวิศวกรรมอุตสาหการ - Department of Industrial Engineering รับผิดชอบภารกิจการสอนตามหลักสูตร วิศวกรรมศาสตรบัณฑิตสาขาวิศวกรรมอุตสาหการ (วศ.บ.วิศวกรรมอุตสาหการ) วิจัย และบริการทางวิชาการ เกี่ยวกับงานทางดานวิศวกรรมอุตสาหการในสาขาหลักๆ ดังนี้

การวิจัยการดําเนินงาน (Operation Research) การวางแผนจัดการงานอุตสาหกรรม และควบคุมการผลิต (Industrial Planning, Management, and Production

Control) โลหะวิทยาและวัสดุศาสตร (ผลิตและปรับปรุงคุณสมบัติวัสดุ) ( Metallurgy & Material Science) วิศวกรรมการผลิต การควบคุมการทํางานโดยอัตโนมัติ (Production Engineering & Automatic Control)

3. ภาควิชาวิศวกรรมไฟฟาและอิเล็กทรอนิกส - Department of Electrical and Electronics Engineering รับผิดชอบภารกิจการสอนตามหลักสูตร วิศวกรรมศาสตรบัณฑิตสาขาวิศวกรรมไฟฟาและอิล็กทรอนิกส (วศ.บ.วิศวกรรมไฟฟาและอิเล็กทรอนิกส) วิจัย และบริการทางวิชาการ เกี่ยวกับงานทางดานวิศวกรรมไฟฟาในสาขาหลักๆ ดังนี้

วิศวกรรมไฟฟากําลัง (วิเคราะหออกแบบระบบผลิตและสงกําลังไฟฟา) (Power System) วิศวกรรมไฟฟาสื่อสาร (การแพรกระจายของคลื่น การประมวลผลสัญญาณ) (Telecommunication) วิศวกรรมอิเล็กทรอนิกส (ออกแบบวงจร เทคโนโลยีวงจรรวมแบบดิจิตอล) (Electronics) วิศวกรรมคอมพิวเตอร (พัฒนาวงจร เก็บและจัดการขอมูล วิศวกรรมซอฟทแวร) (Computer Engineering)

4. ภาควิชาวิศวกรรมโยธา - Department of Civil Engineering รับผิดชอบภารกิจการสอนตามหลักสูตร วิศวกรรมศาสตรบัณฑิตสาขาวิศวกรรมโยธา (วศ.บ.วิศวกรรมโยธา) วิจัย และบริการทางวิชาการ เกี่ยวกับงานทางดานวิศวกรรมโยธาในสาขาหลักๆ ดังนี้

วิศวกรรมสํารวจ (Surveying) วิศวกรรมทาง และวิศวกรรมขนสง (Highway & Transportation Engineering) วิศวกรรมทรัพยากรน้ํา (ชลศาสตรและอุทกวิทยา) (Water Resources Engineering) วิศวกรรมเทคนิคธรณี (Geo-technical Engineering)

Page 28: แผนการบริหารทร ัพยากรบ ุคคลweb.eng.ubu.ac.th/~personnel/personneldata/HRD plan2550... · 2019-05-15 · แผนการบริหารทร

24

แผนบริหารทรัพยากรบุคคล คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี 2550-2560

วิศวกรรมโครงสราง และวัสดุ (Structural Eng. & Materials) บริหารจัดการงานกอสราง และเทคโนโลยีในการกอสราง (Construction Management & Technology)

5. ภาควิชาวิศวกรรมเคมี - Department of Chemical Engineering & Environmental Engineering รับผิดชอบภารกิจการสอนตามหลักสูตร วิศวกรรมศาสตรบัณฑิตสาขาวิศวกรรมเคมี (วศ.บ.วิศวกรรมเคมี) วิจัย และบริการทางวิชาการ เกี่ยวกับงานทางดานวิศวกรรมเคมี ชีวภาพและวิศวกรรมสิ่งแวดลอม ในสาขาหลักๆ ดังนี้

กระบวนการทางเคมีและอุตสาหกรรมเคมี Chemical Process & Industry การจัดการและเทคโนโลยีสิ่งแวดลอม Environmental Management and Technology เทคโนโลยีชีวภาพ Bio-technology วัสดุศาสตร Material Science (Polymer)

ท้ังนี้ ภาควิชาวิศวกรรมเคมี มีโครงการที่จะเปดสอนในหลักสูตรวิศวกรรมศาสตรบัณฑิตสาขาวิศวกรรมสิ่งแวดลอม(วศ.บ.วิศวกรรมสิ่งแวดลอม) อีกหนึ่งหลักสูตร เริ่มต้ังแตปการศึกษา 2551 เปนตนไป

6. สํานักงานเลขานุการ Office of the Secretary รับผิดชอบงานดานการบริหารจัดการทั่วไปของคณะ ดังนี้ 1.สนับสนุนการบริหารงานของคณะในดานตางๆ เชน การจัดทําแผนงาน งบประมาณ การ

บริหารงานบุคคล ขอมูลและสารสนเทศตางๆ ตลอดจน จัดหาจัดเตรียมวัสดุอุปกรณการศึกษาเพื่อใหบริการการเรียนการสอน

2.บริการและอํานวยความสะดวกดานขอมูลสารสนเทศแกฝายบริหาร และบุคลากรภายในคณะ เชน การจัดระบบเอกสาร และระบบคอมพิวเตอร

3.ประสานการดําเนินงานกับหนวยงานท้ังภายในและภายนอก เพ่ืออํานวยความสะดวกในดานการเรียนการสอน การฝกงาน การวิจัย การบริการวิชาการ

4.ควบคุมและตรวจสอบการดําเนินการตางๆ ใหเปนไปตามระเบียบ และขั้นตอนรวมทงพัฒนาและปรับปรุงระบบเอใหการดดําเนินงานเปนไปดวยความสะดวกรวดเร็วเปนที่พึงพอใจของผูท่ีติดตอประสานงาน

5.ดูแลการจัดการในดานความสะอาด ความปลอดภัย ระบบไฟฟา โทรศัพท ประปา โสตทัศนูปกรณ ตางๆ อาคารและพื้นที่โดยรอบ

6.รับผิดชอบงานประชาสัมพันธเพื่อเผยแพรช่ือเสียงและภาพพจนท่ีดีของคณะ รายละเอียดโดยสังเขปของหนวยงานในสํานักงานเลขานุการ

6.1 งานการเงิน รับผิดชอบ การเบิก – จาย เงินจากแหลงงบประมาณ คือ เงินกองทุนสงเสริมละพัฒนาการผลิตบัณฑิตของคณะ

วิศวกรรมศาสตร เงินรายได และเงินงบประมาณแผนดินในทุกหมวด คือ คาตอบแทน คาใชสอย คาวัสดุ คาครุภัณฑ เงินอุดหนุน เปนตน

การจัดทําบัญชีท่ีเกี่ยวของกับระบบการเงินทุกหมวด การติดตามเรงรัด การเบิกจาย ใหมีการใชงบประมาณตามแผนงาน การจัดทํารายการใชจายเงินรายเดือน

Page 29: แผนการบริหารทร ัพยากรบ ุคคลweb.eng.ubu.ac.th/~personnel/personneldata/HRD plan2550... · 2019-05-15 · แผนการบริหารทร

25

แผนบริหารทรัพยากรบุคคล คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี 2550-2560

6.2 งานพัสดุ รับผิดชอบ การจัดซื้อจัดจางวัสดุ ครุภัณฑ การจางเหมาบริการ การทําทะเบียนควบคุมครุภัณฑและวัสดุ การสงซอมบํารุงรักษาครุภัณฑ

6.3 งานสารบรรณ รับผิดชอบ การรับ – สง และจัดเก็บหนังสือราชการ การรางและโตตอบหนังสือท่ัวไป การแจงเวียน หนังสือ ท่ัวไปภายในคณะฯ การตรวจสอบเอกสารเกี่ยวกับสวัสดิการตาง ๆ เชน การเบิกคาเชาบาน คารักษาพยาบาล คาการศึกษาบุตร

เงินประจําตําแหนงผูบริหาร การติดตอและทําเรื่องการเดินทางไปราชการสําหรับบุคลากรภายในคณะฯ การจัดระบบและควบคุมระบบการใชโทรศัพท / โทรสารทุกหมายเลขภายในคณะฯ ประสานงานการเดินทางไปราชการของผูบริหาร(คณบดี รองคณบดี) ประสานงานติดตอกับหนวยงานตาง ๆ ใหกับผูบริหาร ประสานงานนัดหมาย จัดประชุม และรบัรองแขกสําคัญของคณะฯ จัดพิมพเอกสาร สําเนาเอกสาร หนังสือเฉพาะกิจสําหรับผูบริหาร การจัดทําสื่อประชาสัมพันธตางๆ เพื่อใหขอมูลขาวสารเกี่ยวกับคณะแกบุคคลทั่วไป

6.4 งานการเจาหนาท่ี รับผิดชอบ ประสานงานเกี่ยวกับสิทธิประโยชนตาง ๆ แกบุคลากรภายในคณะฯ ตรวจสอบระบบการบริหารงานบุคคลใหเปนไปตามระเบียบราชการ จัดทําโครงการสงเสริม และพัฒนาบุคลากรใหมีประสิทธิภาพในการทํางาน ประสานงานกิจกรรมตาง ๆ ท่ีเกี่ยวของกับงานบุคลากร วิเคราะหอัตรากําลัง และนําเสนอขอมูลดานบุคลากรแกผูบริหารเพื่อวางแผนดานบุคลากร การประสานงานเกี่ยวกับทุนศึกษาตอ ฝกอบรม ดูงาน ท่ีใหผานกรมวิเทศสหการ

6.5 หนวยอาคารสถานที่ (การซอมบํารุงและภูมิทัศน) รับผิดชอบ การปรับปรุง ดูแลรักษาภูมิทัศนรอบอาคารเรียนรวม 1 EN1 EN2 EN3 EN4 EN5 EN6 การซอมบํารุงอุปกรณและเครื่องมือตางในอาคารที่รับผดิชอบ ประสานงานกับงานอาคารและสถานที่เกี่ยวการดูแลรักษาระบบสารธารณูปโภคในอาคาร เชน ระบบไฟฟา

นํ้าประปา โทรศัพท 6.6 หนวยยานพาหนะ รับผิดชอบ

การใหบริการรถตู และรถยนตนั่ง และการซอมบํารุง 6.7 หนวยเทคโนโลยีทางการศึกษา รับผิดชอบ

การใหบริการอุปกรณโสตทัศนศึกษาเพื่อการเรียนการสอน

Page 30: แผนการบริหารทร ัพยากรบ ุคคลweb.eng.ubu.ac.th/~personnel/personneldata/HRD plan2550... · 2019-05-15 · แผนการบริหารทร

26

แผนบริหารทรัพยากรบุคคล คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี 2550-2560

การจัดหองเรียนและอุปกรณท่ีจําเปน การใหบริการหองจัดอบรมสัมมนาและหองประชุม

6.8 หนวยผลิตเอกสาร รับผิดชอบ การใหบริการถายเอกสารประกอบการสอนและการผลิตเอกสารประกอบการสอนเปนรูปเลม ควบคุมการตรวจสอบการจางเหมาเอกชนเพื่อถายเอกสารและจัดซื้อวัสดุท่ีเกี่ยวของ

6.9 งานบริการสารสนเทศทางวิศวกรรม รับผิดชอบ การใหบริการหองสมุดและสารสนเทศของคณะ การจัดหาทรัพยากรเพื่อการศึกษาคนควาและอางอิง การพัฒนา การสงเสริมการเรียนรูดวยตนเอง

6.10 งานบรกิารคอมพิวเตอรและระบบเครือขาย รับผิดชอบ การใหบริการหองปฏิบัติการคอมพิวเตอร การจัดหาทรัพยากรเพื่อใหบริการดานคอมพิวเตอรแกบุคลากรและเพื่อการเรียนการสอน การพัฒนา ระบบ

ขอมูลสารสนเทศเพื่อการบริหารจัดการ 6.11 งานนโยบายและแผน รับผิดชอบ

การจัดทําแผนงาน และงบประมาณประจําป ติดตามผลและรายงานผลการปฏิบัติงานตามแผนตอผูบริหาร วิเคราะหการจัดทําแผนงานใหเปนไปตามแนวนโยบาย ประสานงานโครงการ/ กิจกรรมตาง ๆ ภายในคณะฯ

6.12 งานวิชาการ รับผิดชอบ การบริการอาจารยพิเศษ / อาจารยประจํา ในการจัดการเรียนการสอน ตารางการใชหองเรียน และอุปกรณโสตฯ ทุกหองภายในคณะฯ ทําเรื่องเบิกคาสมนาคุณ คาสอนพิเศษ อาจารยประจํา / อาจารยพิเศษ ประสานงานการผลิตและจัดเก็บสื่อสารสอน

6.13 งานกิจการนักศึกษา รับผิดชอบ อํานวยความสะดวกและสนับสนุนทรัพยากรที่จําเปนเกี่ยวกับงานดานทุนการศึกษา การฝกงานนักศึกษา

โครงการ / กิจกรรมของนักศึกษา 6.14 หนวยสนับสนุนการวิจัย และบริการวิชาการ รับผิดชอบ

การอํานวยความสะดวกและสนับสนุนทรัพยากรที่จําเปนเกี่ยวกับประสานงานงานวิจัย งานโครงการ / กิจกรรมการบริการวิชาการ การทํานุบํารุงศิลปะ วัฒนธรรม การประชุมเชิงปฏิบัติการ การสัมมนาเกี่ยวการวิจัย และการสงเสริมงานวิจัย และบริการวิชาการ

Page 31: แผนการบริหารทร ัพยากรบ ุคคลweb.eng.ubu.ac.th/~personnel/personneldata/HRD plan2550... · 2019-05-15 · แผนการบริหารทร

27

แผนบริหารทรัพยากรบุคคล คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี 2550-2560

4. การวเิคราะหความตองการอตัรากาํลงัและแผนอัตรากาํลงั

Workforce Analysis & Manpower Planning

4.1 การวิเคราะหอัตรากําลัง (Workforce Analysis) การวิเคราะหอัตรากําลังขององคกรเปนสิ่งสําคัญท่ีตองดําเนินการในกระบวนการวางแผนกําลังคน เพื่อให

สามารถคํานวณกําลังคนที่เหมาะสมท่ีจะใชงานตามแผนงานขององคการรวมทั้งเปนเคร่ืองมืออยางหนึ่งที่จะใชเพ่ือการทบทวนตรวจสอบกําลังคนที่องคการที่มีในปจจุบันวามีความเหมาะสมหรือไมเมื่อมีการทําแผนกําลังคนใหม สรางเกณฑมาตรฐานในการวิเคราะหกําลังคนในองคการ จัดต้ังหนวยงานใหม การขยายงานหรือลดงานในหนวยงานเดิม การเปลี่ยนแปลงวิธีการทํางานหรือนําเทคโนโลยีใหมมาใช หรือเมื่อตองการตรวจหรือทบทวนการใชกําลังคนที่มีอยู 4.2 หลักเกณฑ ขั้นตอนการ วิธีการในการวิเคราะหอัตรากําลัง ในการวิเคราะหอัตรากําลังครั้งนี้ ไดดําเนินการตามขั้นตอน ดังตอไปนี้

1. ศึกษาขอมูลพื้นฐาน ท่ัวไป คือ ปรัชญา วิสัยทัศน พันธกิจ โครงสราง แผนยุทธศาสตรของคณะวิศวกรรมศาสตร

2. ขอบเขตภาระหนาที่ของหนวยงานที่จะทําการวิเคราะหอัตรากําลัง (Functional Description) ซึ่งไดแก ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล ภาควิชาวิศวกรรมไฟฟาและอิเล็กทรอนิกส ภาควิชาวิศวกรรมโยธา ภาควิชาวิศวกรรมเคมี ภาควิชาวิศวกรรมอุตสาหการ และ สํานักงานเลขานุการ

3. หาปจจัยวัดงาน (Task) และหนวยนับ โดย สวนที่เปนภาควิชาใชปจจัยวัดงานจากเกณฑมาตรฐานภาระงานของอาจารยตอนักศึกษา

4. หาปริมาณงานแตละงานที่ตองทํา

5. คํานวณอัตรากําลังที่ตองใชในแตละงาน (Task)

6. สรุปอัตรากําลังรวมของแตละหนวยงาน หมายเหต ุ

“ปจจัยวัดงาน” หมายถึง ผลขั้นสุดทาย (Out put) อันเกิดจากการปฏิบัติงานของพนักงาน ซึ่งกอใหเกิดการเพ่ิมผลผลิต (Productivity) ขององคการ ซึ่งอาจออกมาในรูปของผลผลิต (Products) หรือบริการ (Services)

“หนวยนับ” หมายถึง หนวยนับของผลงาน ซึ่งอาจมีหนวยเปนช้ินงาน โครงการ หรือ เปนหนวยนับของเวลา เชน นาที ชั่วโมง หรือวัน เปนตน 4.3 หลักทฤษฎีหรือเทคนิคที่ใชในการวิเคราะหอัตรากําลัง เทคนิคที่ใชในการวิเคราะหอัตรากําลังที่ใชกันทั่วไป มี 3 วิธี คือ

Page 32: แผนการบริหารทร ัพยากรบ ุคคลweb.eng.ubu.ac.th/~personnel/personneldata/HRD plan2550... · 2019-05-15 · แผนการบริหารทร

28

แผนบริหารทรัพยากรบุคคล คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี 2550-2560

1. เทคนิคเดลฟาย (Delphi Technique) วิเคราะหอัตรากําลัง โดยอาศัยดุลยพินิจของผูบริหาร (Management Judgement) หรืออาศัยความรูและประสบการณของผูชํานาญการ ซึ่งทํางานเกี่ยวของกับงานในหนวยงานที่ทําการวิเคราะหนั้น ท้ังนี้โดยอาศัยรากฐานขอเท็จจริงที่อางอิงได 2.วิธีเปรียบเทียบอัตราสวน (Ratio) เปรียบเทียบอัตราสวนแบบตางๆ คือ อัตราสวนประสิทธิภาพ (Output - Input Ratio) อัตราสวนพนักงานกับอุปกรณ อัตราสวนผูใตบังคับบัญชากับผูบังคับบัญชา อัตราสวนกําลังคนในงานที่เกี่ยวของกัน และ อัตราสวนอัตรากําลังหลักกับอัตรากําลังเสริม 3. การใชเทคนิคการวัดงาน (Work Measurement Technique)

ท้ังนี้การวิเคราะหอัตรากําลังของคณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยอุบลราชธานีเนื่องจากในแตละสวนงานมลักษณะงานที่แตกตางกันออกไปตามภารกิจ ดังนั้นใชเทคนิคในการวิเคราะหอัตรากําลังโดยผสมผสานกันหลายวิธีตามลักษณะงานของหนวยงานนั้นๆ ดังนี้ 1. เดลฟายเทคนิค (Delphi Technique) ใชเพื่อการวิเคราะหงานของหนวยยอยๆ คือ เจาหนาที่หนวยผลิตเอกสาร และเจาหนาที่หนวยประกันคุณภาพ 2. วิธีเปรียบเทียบอัตราสวน (Ratio) 2.1 อัตราสวนประสิทธิภาพ (Output - Input Ratio) คือ จํานวนผลงานที่จะไดรับจากผูปฏิบัติงาน 1 คน โดยเฉลี่ย อาจคิดจากจํานวนชิ้นงาน หรือใชบริการที่มาติดตอ หรือพื้นท่ีในการปฏิบัติงาน ซึ่งจะถูกกําหนดขึ้นจากการหารือรวมกันของหัวหนางาน นักวิเคราะหงานและผูชํานาญการ ซึ่งอัตรากําลังที่จะใชวิธีการคํานวณโดยวิธีนี้ ไดแก ตําแหนงอาจารย ครูปฏิบัติการและชางเทคนิคที่ทําหนาที่ชวยสอนวิชาปฏิบัติการ การคํานวณกําลังคนโดยใชอัตราสวนประสิทธิภาพ มีวิธีคิดดังนี้ กําลังคนที่ตองการ = ปริมาณงานที่ตองทําตามแผนงาน อัตราสวนประสิทธิภาพ คํานวณจากพ้ืนที่ กําหนดเกณฑมาตรฐานตอตารางเมตรในการใหบริการของพนักงาน 1 คน ท่ีตองรับผิดชอบดูแลในพื้นที่ และคํานวณพื้นที่ท่ีมีท้ังหมด ดังนั้น จํานวนพนักงานท่ีตองการ = พท.ท้ังหมด (ตรม.) เกณฑมาตรฐานตอตารางเมตรในการใหบริการของพนักงาน 1 คน อัตรากําลังที่จะใชวิธีการคํานวณโดยวิธีนี้ ไดแกคนสวน และ จนทหนวยเทคโนโลยทีางการศึกษา

Page 33: แผนการบริหารทร ัพยากรบ ุคคลweb.eng.ubu.ac.th/~personnel/personneldata/HRD plan2550... · 2019-05-15 · แผนการบริหารทร

29

แผนบริหารทรัพยากรบุคคล คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี 2550-2560

คํานวณจากจํานวนผูใชบริการที่มาติดตอ กําหนดเกณฑมาตรฐานในการใหบริการ ของพนักงานประจํา ท่ีจะตองสามารถบริการลูกคาไดคนละกี่รายตอวัน จากการพยากรณปริมาณผูใชบริการที่มาติดตอโดยอาศัยสถิติขอมูลท่ีผานมา วาจะมีผูใชบริการมาติดตอเฉลี่ยประมาณวันละกี่ราย ดังนั้น จํานวนพนักงานท่ีตองการ = จํานวนผูใชบริการมาติดตอเฉลี่ยตอวัน เกณฑมาตรฐานในการใหบริการตอวันของพนักงาน อัตรากําลังที่จะใชวิธีการคํานวณโดยวิธีนี้ ไดแก บรรณารักษ 2.2 อัตราสวนพนักงานกับอุปกรณ เปนเทคนิคที่ใชในการคํานวณกําลังคนของงานบางลักษณะ โดยพิจารณาจากเครื่องมือ เคร่ืองจักร หรืออุปกรณท่ีใชในการทํางาน เชน พนักงานขับรถ ตอ จํานวนรถยนต พนักงานรับโทรศัพท ตอ จํานวนโทรศัพท หรือพนักงานจายน้ํามัน ตอ หัวจายน้ํามัน พนักงานบันทึกขอมูลคอมพิวเตอร ตอ เคร่ืองคอมพิวเตอร เปนตน ในครั้งนี้ใชเพื่อการวิเคราะหงานของ ตําแหนงพนักงานขับรถและชางเทคนิคประจําภาควิชาที่ไมไดทําหนาที่ชวยสอน 3. เทคนิคการวัดงาน (Work Measurement Technique) การวิเคราะหอัตรากําลัง โดยการศึกษาจากขั้นตอนการไหลของงาน (Workflow) และมีการวัดเวลาที่ใชในการทํางานแตละขั้นตอนที่เรียกวา Time and Motion Study แลวนําผลท่ีไดจากการวัดงานไปกําหนดเวลามาตรฐานในการทํางานเพ่ือนําไปใชในการคํานวณอัตรากําลังที่เหมาะสมกับปริมาณงานของหนวยงาน วิธีการวัดงาน เพ่ือกําหนดเวลามาตรฐานในการทํางาน ทําไดหลายวิธีดวยกัน คือ

3.1 การประมาณงานโดยผูชํานาญการ ใชสําหรับงานประเภทที่ตองใชเทคนิคสูงหรือใชความชํานาญพิเศษเฉพาะดาน ตองใหผูชํานาญการในเทคนิคสาขานั้นเปนผูประมาณการวาควรใชเวลาเทาใด

3.2 การจับเวลา (Time Study) เปนการสังเกตการณและจับเวลาการทํางานของเจาหนาที่พรอมบันทึกผลการจับเวลาไว โดยอาจตองทําซ้ําประมาณ 2-3 หนในเวลาที่ตางกันแลว กําหนดเปนเวลามาตรฐานในการทํางานขึ้นใชสําหรับงานที่ทําซ้ํา ๆ กันและใชเทคนิคเหมือน ๆ กัน เปนงานที่ใชเทคนิคไมสูงนัก เชน งานธุรการ งานพัสดุ งานประกอบชิ้นสวนเครื่องจักร เปนตน

3.3 การใชเวลามาตรฐานที่มีอยูแลว โดยการนําเวลามาตรฐานที่มีผูทําการศึกษาวิจัยและกําหนดเปนเวลามาตรฐานไวและมีผูยอมรับนําไปใชโดยทั่วไป ซึ่งสวนใหญจะเปนเวลามาตรฐานเกี่ยวกับการทํางานที่มีการเคลื่อนไหวรางกายในการทํางาน เชน เวลามาตรฐานในการพิมพดีด การลงทะเบียนรับ-สงเอกสารเขา-ออก การถายเอกสาร เปนตน

ในงานที่ใชเทคโนโลยีชั้นสูงในการทํางาน โดยมีเครื่องมือ เครื่องจักร หรือเทคนิคช้ันสูงในการปฏิบัติงาน อาจมีคูมือกําหนดขั้นตอนในการทํางานและเวลาที่จะตองใชในการทํางานแตละขั้นตอนไวดวย เจาหนาที่วิเคราะหก็สามารถหาเวลามาตรฐานไดจากการศึกษาขั้นตอนในการทํางานจากคูมือดังกลาวได

Page 34: แผนการบริหารทร ัพยากรบ ุคคลweb.eng.ubu.ac.th/~personnel/personneldata/HRD plan2550... · 2019-05-15 · แผนการบริหารทร

30

แผนบริหารทรัพยากรบุคคล คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี 2550-2560

3.4 วิเคราะหจากบันทึกการปฏิบัติงานของเจาหนาที่ (Work Time Log) โดยการใหเจาหนาที่บันทึกการทํางานในชวงเวลาตาง ๆ ในแตละวัน วามีการปฏิบัติงานอะไรบาง แลวนําผลรวมของเวลาที่รวบรวมไดไปเปรียบเทียบกับผลงานที่เสร็จในชวงที่ทําการวิเคราะหนั้น เพื่อนําไปคํานวณและกําหนดเวลามาตรฐานในการทํางานแตละงาน

วิธีนี้ใชสําหรับงานที่มีผูปฏิบัติหลายคน และใชเทคนิคการทํางานคลาย ๆ กัน และมีผลงานที่สามารถวัดเปนปริมาณช้ินงานได

3.5 วิเคราะหจากทางเดินของงาน (Work Flow) โดยการศึกษารายละเอียดขั้นตอนการทํางานจากใบพรรณนาหนาที่งาน (Job Description) หรือจากการสัมภาษณผูปฏิบัติงานและคํานวณเวลาที่ตองใชท้ังหมด ต้ังแตจุดเร่ิมตนของงานจนถึงจุดเสร็จสิ้นของงาน ซึ่งจะไดเวลาทํางานมาตรฐานของงานแตละลักษณะที่จะนําไปคํานวณกําลังคนรวมของหนวยงานนั้นตอไป

ท้ังนี้ ในการวัดงานของบุคลากรสายสนับสนุนที่ปฏิบัติงานดานบริหารและธุรการจะใชวิธีท่ี 3.5 คือ วิเคราะหจากทางเดินของงาน (Work Flow) โดยไดศึกษารายละเอียดขั้นตอนการทํางานจากใบพรรณนาหนาที่งาน (Job Description)ของบุคลากรแตละงานแลวคํานวณเวลาที่ตองใชท้ังหมด ต้ังแตจุดเริ่มตนของงานจนถึงจุดเสร็จสิ้นของงาน ซึ่งจะไดเวลาทํางานมาตรฐานของงานแตละลักษณะที่จะนําไปคํานวณกําลังคนรวมของหนวยงานน้ัน โดยคํานวณ ดังนี้ อัตรากําลังที่ตองการ = ปริมาณงานใน 1 ป x เวลามาตรฐานตองาน 1 ช้ิน เวลาทํางานของบุคลากร 1 คน ตอ 1 ป

ปริมาณงานใน 1 ป ไดจากการศึกษาแผนงานขององคการหรือจากการเก็บรวบรวมสถิติผลงานที่ผานมา (ทําไดจากการเก็บขอมูลยอนหลังประมาณ 3 ป และนํามาหาคาเฉลี่ย)

วิธีหาเวลาทํางานของบุคลากร 1 คนตอ 1 ป มีขั้นตอนในการคํานวณ ดังนี้ 1. คํานวณวันทํางานของเจาหนาที่ 1 คน ตอ 1 ป ดังนี้

จํานวนวันทํางานตอสัปดาห 5 วันx 52 สัปดาห = 260 วัน ตอป หัก - วันหยุดตามประเพณี = 13 วัน (ตามขอบังคับบริษัท) - วันลาพักผอนประจําป = 10 วัน - วันลากิจ ลาปวย เฉลี่ย = 7 วัน

∴วันทาํงานของเจาหนาที่ 1 คน ใน 1 ป = 230 วัน 2. คํานวณวันทํางานของพนักงาน ใน 1 วัน ดังนี้

0 เวลาทําการของหนวยงานใน 1 วัน = 7 ช่ัวโมง 0 - เวลาพักเที่ยง = 1 ช่ัวโมง - เวลาปฏิบัติกิจธุระสวนตัว = 15% ของเวลาทํางาน 1 วัน (Allowance Time) ในที่นี้ไมนํามาคิด

Page 35: แผนการบริหารทร ัพยากรบ ุคคลweb.eng.ubu.ac.th/~personnel/personneldata/HRD plan2550... · 2019-05-15 · แผนการบริหารทร

31

แผนบริหารทรัพยากรบุคคล คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี 2550-2560

0 คูณดวย จํานวนนาทีตอ 1 ช่ัวโมง = 60 นาที

∴ เวลาทํางานของเจาหนาที่ ใน 1 วัน = 420 นาที 3. หาเวลาทํางานของพนักงาน 1 คน ตอ 1 ป ไดดังนี้

เวลาทํางานของพนักงาน 1 คนใน 1 ป สัปดาห = จํานวนวันทํางาน 1 ป x จํานวนเวลาทํางานตอ 1 วัน = 230 วัน x 420 นาที = 96,600 นาที ตอป หรือ 1,610 ช่ัวโมง ตอป

ท้ังนี้ ในการวิเคราะหอัตรากําลังครั้งนี้ ไดใชวิธีเทคนิคการวัดงาน (Work Measurement Technique) นี้กับ เจาหนาที่ของงานการเงิน งานพัสดุ งานการเจาหนาที่ งานสารบรรณ งานวิชาการ งานนโยบายและแผน งานกิจการนักศึกษา งานบริการคอมพิวเตอรและระบบเครือขาย หนวยซอมบํารุง หนวยพัฒนาระบบขอมูลและสารสนเทศเพ่ือการบริหารจัดการ หนวยสนับสนุนการวิจัยและบริการวิชาการ งานบัณฑิตศึกษา และหัวหนาสํานักงานเลขานุการ 4.4 ผลการวิเคราะหและการกําหนดแผนอัตรากําลังป 2550-2560 (Workforce Analysis and Manpower Planning) จากการวิเคราะหตามหลักเกณฑขางตน ปรากฏผลการวิเคราะห โดยแยกตามสายงาน/หนวยงาน ดังนี้

4.4.1 สายอาจารย 4.4.1.1 หลักเกณฑและขอกําหนดในการคํานวณกรอบอัตรากาํลัง การกําหนดกรอบอัตรากําลังอาจารย มีหลักเกณฑและขอกําหนดในการคํานวณกรอบอัตรากําลังที่กําหนดไว

จากหลายสวน คือ 1) สํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา กําหนดเกณฑในการกําหนดกรอบอัตรากําลังตามภาระงานของหนวยงานโดยแยกตามวัตถุประสงค/วิธีคิด

ดังนี้ ก. คิดตามเกณฑมาตรฐานในการรับนิสิต นักศึกษาแตละกลุมสาขา โดยพิจารณาจากสัดสวนจํานวนอาจารยตอจํานวนนักศึกษาสําหรับสาขาวิชาตางๆที่สํานักงานคณะกรรมการ

การอุดมศึกษากําหนด ดังนี้ คือ 1. สังคมศาสตร ศิลปศาสตร มนุษยศาสตร และศึกษาศาสตร สัดสวน 1 : 25 ขยายการรับไดไมเกิน 1 : 75 2. ศิลปกรรมศาสตรและสถาปตยกรรมศาสตร สัดสวน 1:8 ขยายไดไมเกิน 1:20 3. วิศวกรรมศาสตร วิทยาศาสตรและเทคโนโลยี สัดสวน 1:20 ขยายไดไมเกิน 1:60 4. เกษตรศาสตร สัดสวน 1:20 ขยายไดไมเกิน 1:50 5. สาธารณสุขศาสตร พยาบาลศาสตร และเภสัชศาสตร สัดสวน 1:8 ขยายไดไมเกิน 1:30 6. แพทยศาสตร สัตวแพทย และทันตแพทย สัดสวน 1:8 ขยายไดไมเกิน 1:10

(ท่ีมา http://www.bangkokbiznews.com/2006/02/14/WW17_1701_news.php?newsid=11326)

Page 36: แผนการบริหารทร ัพยากรบ ุคคลweb.eng.ubu.ac.th/~personnel/personneldata/HRD plan2550... · 2019-05-15 · แผนการบริหารทร

32

แผนบริหารทรัพยากรบุคคล คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี 2550-2560

ข.คิดตามภาระงานของตําแหนง ดังนี้ ในการกําหนดกรอบภาระงานของบุคลากรของสถาบันอุดมศึกษานั้น สํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา ไดกําหนดกรอบไว ดังนี้

สายผูสอน พิจารณาจากภาระงานสอนของอาจารย (Teaching Load) โดยมีเกณฑในการคํานวณ คือ ระดับปริญญาตรีหรือต่ํากวา ใชเกณฑ 10 หนวยชั่วโมง/สัปดาห/ภาคการศึกษา หรือ 30 ช่ัวโมงทําการ(สําหรับการสอนภาคปฏิบัติ คิดอัตราสวน 1.5 ช่ัวโมงปฏิบัติ = 1 ช่ัวโมงบรรยาย) ระดับบัณฑิตศึกษา ใชเกณฑ 6 หนวยช่ัวโมง/สัปดาห/ภาคการศึกษา สายสนับสนุนการสอน แบงออกเปน -สายสนับสนับสนุนวิชาการ ตําแหนงที่ปฏิบัติงานในหองปฏิบัติการ พิจารณาจากจํานวนหอง ลักษณะการใชหอง อุปกรณและประเภทเครื่องมือของหองปฏิบัติการวามีความจําเปนตองมีผูรับผิดชอบตลอดระยะเวลาการปฏิบัติงานหรือไม ตําแหนงที่ปฏิบัติงานดานวิจัย กําหนดอัตรากําลังตามกลุมสาขาการวิจัยหลักของสถาบันอุดมศึกษา ในแตละกลุมสาขาวิจัยจะมีผูรับผิดชอบเปนทีม ทีมละ 3 อัตรา -สายบริหารและธุรการทั่วไป กําหนดให 1 ตําแหนงตองมีภาระงานไมนอยกวา 35 ช่ัวโมงทําการตอสัปดาห หรือ 230 วัน / ป (อางอิงตาม หนังสือสํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา ท่ี ศธ 0502(2)/ ว.15 ลว. 19 กันยายน 2550) ค. คิดตามหลักการวิเคราะหภาระงานโดยใชวิธีการ FTES การกําหนดอัตรากําลังสายวิชาการ (สาย ก.) กําหนดโดยการวิเคราะหภาระงานสอนตามจํานวนนักศึกษาเต็มเวลา (Full Time Equivalent Students : FTES) หมายถึง จํานวนนิสิตที่ไดจากการลงทะเบียนเรียนในหลักสูตรตาง ๆ ตามเกณฑมาตรฐานสํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา กําหนดหนวยกิตเพื่อใชในการคํานวณจํานวนนิสิตเต็มเวลาในระดับการศึกษาตาง ๆ โดย มี ก ร ะบวนก า รวิเคราะห ตามจํานวนหนวยกิตนิสิต (Student Credit Hours : SCH) หมายถึง ผลรวมของผลคูณระหวางจํานวนนิสิตที่ลงทะเบียนเรียนกับหนวยกิตของแตละรายวิชาท่ีภาควิชา หรือคณะนั้นเปดสอนโดยใชสูตรการคํานวณ ดังนี้

SCH = ∑−n

1i iSiC

เมื่อ Ci หมายถึง จํานวนหนวยกิตของแตละรายวิชา Si หมายถึง จํานวนนิสิตที่ลงทะเบียนเรียนในแตละรายวิชา i หมายถึง รายวิชาที่ i … n n หมายถึง จํานวนรายวิชาที่เปดสอนทั้งหมด ระดับปริญญาตรี

FTES (ภาคการศึกษา) = 18

SCH

Page 37: แผนการบริหารทร ัพยากรบ ุคคลweb.eng.ubu.ac.th/~personnel/personneldata/HRD plan2550... · 2019-05-15 · แผนการบริหารทร

33

แผนบริหารทรัพยากรบุคคล คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี 2550-2560

(ปการศึกษา) = 36

SCH หรือ อาจใชวิธี นําคา FTES ท้ัง 2 ภาคการศึกษามา

รวมกันแลวหารดวย 2 ก็จะได FTES ของปการศึกษา ระดับบัณฑิตศึกษา

FTES (ภาคการศึกษา) = 12

SCH

(ปการศึกษา) = 24

SCH หรือ อาจใชวิธี นําคา FTES ท้ัง 2 ภาคการศึกษามา

รวมกันแลวหารดวย 2 ก็จะได FTES ของปการศึกษา การปรับคานิสิตเต็มเวลา(FTES) ระดับบัณฑิตศึกษาเปนระดับปริญญาตรี มีเกณฑในการปรับคาโดยใชเกณฑตามหนังสือทบวงมหาวิทยาลัย(เดิม) ท่ี ทม. 0202.4 /18629 ลงวันท่ี 24 สิงหาคม 2544 โดยพิจารณาจากสัดสวนอาจารย 1 คนตอจํานวนนิสิต อัตราสวนเมื่อเพิ่มจํานวนนิสิต 1.5 เทา ปรากฏรายละเอียดดังนี้

ตารางที่ 4.1 สัดสวนอาจารย 1 คนตอจํานวนนักศึกษาตามเกณฑของ สกอ.

ระดับปริญญาตรี

คณะ/สาขาวิชา เกณฑอาจารย : นิสิตเต็มเวลา 1. คณะศึกษาศาสตร 1 ตอ 23 2. คณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร 1 ตอ 27 3. คณะการบัญชีและการจัดการ 1 ตอ 27 4. คณะศิลปกรรมศาสตร 1 ตอ 12 5. คณะเภสัชศาสตร 1 ตอ 6 6. คณะวิทยาศาสตร 1 ตอ 15 7. คณะเทคโนโลยี 1 ตอ 15 8. คณะวิศวกรรมศาสตร 1 ตอ 15 9. คณะวิทยาการสารสนเทศ (ยกเวนสาขาวิชา สารสนเทศศาสตร

และสื่อสารมวลชน 1 ตอ 27) 1 ตอ 15

10. คณะสถาปตยกรรมศาสตรฯ (ยกเวน สาขานฤมิตศิลป 1 ตอ 12) 1 ตอ 6 11. คณะพยาบาลศาสตร 1 ตอ 6 12. คณะแพทยศาสตร 1 ตอ 6 13. วิทยาลัยการเมืองการปกครอง 1 ตอ 27 14. คณะสาธารณสุขศาสตร 1 ตอ 6 15. คณะการทองเที่ยวและการโรงแรม 1 ตอ 27

Page 38: แผนการบริหารทร ัพยากรบ ุคคลweb.eng.ubu.ac.th/~personnel/personneldata/HRD plan2550... · 2019-05-15 · แผนการบริหารทร

34

แผนบริหารทรัพยากรบุคคล คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี 2550-2560

ระดับบัณฑิตศึกษา

กลุมสาขาวิชา เกณฑอาจารย : นิสิตเต็มเวลา 1. มนุษยศาสตรและสังคมศาสตร 1 ตอ 15 2. วิทยาศาสตรสุขภาพ 1 ตอ 6 3. วิทยาศาสตรและเทคโนโลยี 1 ตอ 7.5

(ซึ่งวิธีนี้ ไดรวมภาระงานดานการบริการ การวิจัย และการบริหาร ) นอกจากนี้วิธีการวิเคราะหภาระงาน อาจใชเกณฑ สัดสวน อาจารย : นักศกึษา ตามหลักเกณฑในการคํานวณ

คาใชจายบุคลากรใหม สําหรับสถาบันการศึกษา ของสํานักงบประมาณ พ.ศ. 2545 ดังแสดงในตาราง ตอไปนี้

ตารางที่ 4.2 แสดงเกณฑมาตรฐานกลาง สําหรับการจัดทําคําขอกําหนดอตัราเพิ่มใหม

ระดับปริญญาตรีสาขาวชิาตาง ๆ อัตราสวน สาขาวิชา

วิจิตรศิลป 1 : 12 ศึกษาศาสตร มนุษยศาสตร สังคมศาสตร บริหารธุรกิจ เศรษฐศาสตร 1 : 25 วิทยาศาสตร วิศวกรรมศาสตร เกษตรศาสตร อุตสาหกรรมเกษตร 1 : 15 แพทยศาสตร ทันตแพทยศาสตร เภสัชศาสตร เทคนิคการแพทย พยาบาลศาสตร สัตวแพทยศาสตร

1 : 6

ระดับปริญญาตรีสาขาวิชาสถาปตยกรรมศาสตร สถาปตยกรรมศาสตร 1 : 6

ระดับบัณฑิตศึกษา

สังคมศาสตรและมนุษยศาสตร 1 : 15 วิทยาศาสตรและเทคโนโลยี 1 : 7.5 แพทยศาสตรและวิชาที่เกี่ยวของกับสุขภาพ 1 : 6

ท่ีมา : หลักเกณฑในการคํานวณคาใชจายบุคลากรใหม สําหรับสถาบันการศึกษา เอกสารสํานักงบประมาณ พ.ศ. 2545

2) มาตรฐานภาระงานขั้นต่ํา สําหรับสายผูสอน คณะวิศวกรรมศาสตร คณะกรรมการบริหารงานบุคคลขาราชการพลเรือนในมหาวิทยาลัย(ก.ม.)ไดกําหนดใหมหาวิทยาลัยกําหนดภาระงานทางวิชาการขั้นตํ่าสําหรับตําแหนงอาจารยขึ้นต้ังแตป 2542 แตเน่ืองจากภาระงานที่กําหนดอาจกระทบตอผูดํารงตําแหนงทางวิชาการบางสวนซึ่งยังไมมีผลงานทางวิชาการ ดังนั้นจึงไดกําหนดบทเฉพาะการขึ้นและใหใชไดเปนเวลา 3 ป นับต้ังแตเดือนตุลาคม 2543 และหลังจากนั้นต้ังแตวันที่ 1 ตุลาคม 2546 ใหเริ่มใชภาระงานที่ อ.ก.ม.

Page 39: แผนการบริหารทร ัพยากรบ ุคคลweb.eng.ubu.ac.th/~personnel/personneldata/HRD plan2550... · 2019-05-15 · แผนการบริหารทร

35

แผนบริหารทรัพยากรบุคคล คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี 2550-2560

มหาวิทยาลัยกําหนดขึ้นเอง ซึ่งจากการกําหนดภาระงานขั้นตํ่า จะทําใหมีผลตอการขอกําหนดตําแหนง ผศ. รศ. และ ศ. ซึ่งตองใชคุณสมบัติและภาระงานขั้นตํ่าของอาจารยเปนฐานคุณสมบัติเบื้องตน อ.ก.ม. มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี จึงกําหนดมาตรฐานภาระงานขั้นตํ่าไว 30 - 35 ช่ัวโมงตอสัปดาห แตเนื่องจากในคณะตางๆมีการจัดการเรียนการสอนในสาขาที่แตกตางกัน ดังนั้น จึงใหคณะตางๆ กําหนดภาระงานและวิธภีาระงานขึ้นมากอน จากนั้น มหาวิทยาลัยจะนําไปสรุปเปนภาพรวมตอไปซึ่ง คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี ไดกําหนดภาระงานขั้นต่ําไวและไดรับความเห็นชอบจากที่ประชุมคณะกรรมการประจําคณะวิศวกรรมศาสตร ในการประชุมครั้งที่ 1/2546 เมื่อวันศุกรท่ี 21 กุมภาพันธ พ.ศ. 2546 ดังนี้

ตารางที่ 4.3 ภาระงานขั้นตํ่าของอาจารยคณะวิศวกรรมศาสตร กําหนดภาระงานขั้นตํ่า 30 ชั่วโมง/สัปดาห/ภาคการศึกษา 1. การคิดภาระงานใหกําหนดดังนี้ 2.1ภาระงานสอน วิธีคิด คิดเปนภาระงาน วิชาทฤษฎี สอนเดี่ยวอยางนอย 1วิชา/ภาคเรียน

- สอนทฤษฎี - เตรียมการสอน - ทบทวนให นศ. นอกเวลา,ตรวจขอสอบ

ควบคุมภาคปฏิบัติการ อยางนอย 3 ชม./สัปดาห - นับตามชม.การควบคุมจริง การควบคุมโครงงาน อยางนอย 2โครงงาน/ป - ระดับปริญญาตรี - ระดับปริญญาโท - ระดับปริญญาเอก

1 หนวยกิต/ 1ชม. 1 หนวยกิต/ 1ชม. 1 หนวยกิต/ 1ชม.

ตามการควบคุมจริง

3 ชม./ 1 โครงงาน 6 ชม./ 1 โครงงาน 9 ชม./ 1 โครงงาน

9 ชม./สปด.

3 ชม./สปด.

3 ชม./สปด. 6 ชม./สปด. 9 ชม./สปด.

1.2 เปนอาจารยท่ีปรึกษา - อยางนอย 1กลุม( เฉลี่ย 5 คน)/ภาคเรียน

1 ชม./คน/วัน

5 ชม./สปด.

1.3 งานตีพิมพบทความทางวิชาการ - อยางนอยปละ 1เรื่อง

3 ชม./สปด.

3 ชม./สปด.

2.4 งานวิจัย - อยางนอย 2ป/1เรื่อง

12 ชม./สปด.

12 ชม./สปด.

2.5 งานดานบริการวิชาการ ,ทํานุบํารุงศิลปวัฒนธรรม - อยางนอย 1ครั้ง/ป

3 ชม./สปด.

3 ชม./สปด.

2.6 งานเขียนตําราทางวิชาการ - อยางนอย 5 ป/ เลม(ใหแจงตอผูมีอํานาจประเมินในตนรอบการประเมิน)

3 ชม./สปด.

3 ชม./สปด.

Page 40: แผนการบริหารทร ัพยากรบ ุคคลweb.eng.ubu.ac.th/~personnel/personneldata/HRD plan2550... · 2019-05-15 · แผนการบริหารทร

36

แผนบริหารทรัพยากรบุคคล คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี 2550-2560

2.7 งานดานบริหาร - ตําแหนงคณบดี - ตําแหนงรองอธิการบดี - ตําแหนงรองคณบด/ีผูชวยอธิการบดี/หัวหนาภาค - ตําแหนงหัวหนางาน/ประธานกรรมการโครงการ/เลขานุการโครงการ/หัวหนาศูนย ฯลฯ

27 ชม./สปด. 12 ชม./สปด. 12 ชม./สปด. 6 ชม./สปด.

27 ชม./สปด. 12 ชม./สปด. 12 ชม./สปด. 6 ชม./สปด.

3. แนวคิดในการกําหนดภาระงานขั้นขั้นตํ่า เพื่อเปนการเสนอแนวทางใหอาจารยเลือกเนนภาระงานตามความถนัดคืองานสอนหรืองานวิจัยและเนนใหเกิดความหลากหลายแตผสมผสานในการนําเสนอภาระงานภายใตกรอบภาระงานหลักที่สามารถชี้วัดไดอยางเปนรูปธรรม 4. ตัวอยางการคํานวณภาระงาน 4.1 กรณีเนนงานสอน

1. สอนทฤษฎี 3 หนวยกิต 1วิชา ไดภาระงาน 9 ชม. 2. ควบคุมปฏิบัติการ 2 กลุม ไดภาระงาน 6 ชม. 3. เปนอาจารยท่ีปรึกษา ไดภาระงาน 5 ชม. 4. ควบคุมโครงงาน 2 โครงงาน ไดภาระงาน 6 ชม. 5. งานตีพิมพบทความทางวิชาการ ไดภาระงาน 3 ชม. 6. งานบริการวิชาการ ไดภาระงาน 3 ชม. รวม 32 ชม. 4.2 กรณีเนนงานวิจัย 1. สอนทฤษฎี 3 หนวยกิต 1วิชา ไดภาระงาน 9 ชม. 2. ทํางานวิจัย 1 โครงการ ไดภาระงาน 12 ชม. 3. เปนอาจารยท่ีปรึกษา ไดภาระงาน 5 ชม. 4. ควบคุมโครงงาน 2 โครงงาน ไดภาระงาน 6 ชม. รวม 32 ชม.

4.4.1.2 ผลการวิเคราะห

วิเคราะหโดยใชเทคนิค ดังนี้ 1) วิธีเปรียบเทียบอัตราสวน (Ratio) แบบ อัตราสวนประสิทธิภาพ (Output - Input Ratio) การคํานวณกําลังคนโดยใชอัตราสวนประสิทธิภาพ มีวิธีคิดดังนี้ กําลังคนท่ีตองการ = ปริมาณงานที่ตองทําตามแผนงาน อัตราสวนประสิทธิภาพ

Page 41: แผนการบริหารทร ัพยากรบ ุคคลweb.eng.ubu.ac.th/~personnel/personneldata/HRD plan2550... · 2019-05-15 · แผนการบริหารทร

37

แผนบริหารทรัพยากรบุคคล คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี 2550-2560

ดังนั้น กรณีที่ 1 คิดตามเกณฑสัดสวนอาจารยตอนกัศึกษาการรับนักศึกษาตามกลุมสาขา

กําลังคนท่ีตองการ = ปริมาณงานที่ตองทําตามแผนงาน อัตราสวนประสิทธิภาพ กําลังอาจารยท่ีตองการ = ปริมาณนักศึกษาที่ตองมีตามแผนงาน อัตราสวนประสิทธิภาพ

เมื่อ ปริมาณงานที่ตองทําตามแผนงาน คอื จํานวนนักศึกษาที่รับเขาตามแผน และอัตราสวนประสิทธิภาพคือ อาจารย 1 คน ตอนักศกึษาตามแผนรับ 20 คน แสดงผลการคํานวณไดตามตางที่ 4.4, 4.5, 4.6

Page 42: แผนการบริหารทร ัพยากรบ ุคคลweb.eng.ubu.ac.th/~personnel/personneldata/HRD plan2550... · 2019-05-15 · แผนการบริหารทร

38

แผนบริหารทรัพยากรบุคคล คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี 2550-2560

ตารางที่ 4.4 จํานวนนักศึกษาทุกชั้นปตามแผนการรับนักศึกษา คณะวิศวกรรมศาสตร ปการศึกษา 2551 – 2560

ภาควิชา 2560 2559 2558 2557 2556 2555 2554 2553 2552 2551 2550 แผน ขอมูลจริง ป 1 ตามแผนรับ (ยังไมแยกสาขา)

670 670 670 670 670 670 670 670 670 630 724

วิศวกรรมเครื่องกล 139 139 139 139 139 139 139 139 139 139 159 88 วิศวกรรมอุตสาหการ 139 139 139 139 139 139 139 139 139 139 159 103 วิศวกรรมไฟฟา 139 139 139 139 139 139 139 139 139 139 159 81 วิศวกรรมโยธา 139 139 139 139 139 139 139 139 139 139 159 61 วิศวกรรมเคมี 76 76 76 76 76 76 76 76 76 76 87 50 วิศวกรรมสิ่งแวดลอม 40 40 40 40 40 40 40 40 40 0 0

รวม 670 670 670 670 670 670 670 670 670 630 724 383

ประมาณยอดรวมนักศึกษาทุกชั้นป

2680 2680 2680 2680 2680 2680 2640 2694 2488 2107 1642 1462

Page 43: แผนการบริหารทร ัพยากรบ ุคคลweb.eng.ubu.ac.th/~personnel/personneldata/HRD plan2550... · 2019-05-15 · แผนการบริหารทร

39

แผนบริหารทรัพยากรบุคคล คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี 2550-2560

ตารางที่ 4.5 คาดการณจํานวนนักศึกษาของแตละภาควิชาในชวงปการศึกษา 2550-2560

ภาควิชา 2560 2559 2558 2557 2556 2555 2554 2553 2552 2551 2550

แผน ขอมูลจริง

วิศวกรรมเครื่องกล (22%) 416 416 416 416 416 416 416 416 436 411 278 203 วิศวกรรมอุตสาหการ(22%) 416 416 416 416 416 416 416 416 436 411 307 245 วิศวกรรมไฟฟา(22%) 416 416 416 416 416 416 416 416 436 394 251 117 วิศวกรรมโยธา(22%) 416 416 416 416 416 416 416 416 436 383 160 111 วิศวกรรมเคมี(12%) 227 227 227 227 227 227 227 227 238 219 118 91 วิศวกรรมสิ่งแวดลอม(ปละ40คน)* 120 120 120 120 120 120 120 80 40 - - -

คิดตามจํานวนนักศึกษาที่เขาภาคในชั้นป 2-3-4(ไมหักจํานวนตกออก) *วิศวกรรมสิ่งแวดลอม เริ่มรับนักศึกษาป 2551

Page 44: แผนการบริหารทร ัพยากรบ ุคคลweb.eng.ubu.ac.th/~personnel/personneldata/HRD plan2550... · 2019-05-15 · แผนการบริหารทร

40

แผนบริหารทรัพยากรบุคคล คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี 2550-2560

ตารางที่ 4.6 จํานวนอาจารย ที่ควรจะมีของแตละสาขาวิชา (อัตรา 1:20)ในแตละปการศึกษา

ภาควิชา 2560 2559 2558 2557 2556 2555 2554 2553 2552 2551 2550

ตามแผนรับ

ตามแผนรับ

วิศวกรรมเครื่องกล 20.8 20.8 20.8 20.8 20.8 20.8 20.8 20.8 20.8 19.6 16.6 วิศวกรรมอุตสาหการ 20.8 20.8 20.8 20.8 20.8 20.8 20.8 20.8 20.8 19.6 17.0 วิศวกรรมไฟฟา 20.8 20.8 20.8 20.8 20.8 20.8 20.8 20.8 20.8 18.7 14.6 วิศวกรรมโยธา 20.8 20.8 20.8 20.8 20.8 20.8 20.8 20.8 20.8 18.2 13.2 วิศวกรรมเคมี 11.3 11.3 11.3 11.3 11.3 11.3 11.3 11.3 11.4 10.4 7.9 วิศวกรรมสิ่งแวดลอม 6.0 6.0 6.0 6.0 6.0 6.0 6.0 4.0 2.0 0.0 0.0

รวมอัตราทั้งคณะที่ควรมี 100.5 100.5 100.5 100.5 100.5 100.5 100.5 98.5 96.8 86.5 69.4

ปดเศษขึ้น 101 คน

101 คน

101 คน

101 คน

101 คน

101 คน

101 คน

99 คน

97 คน

87 คน

70 คน

Page 45: แผนการบริหารทร ัพยากรบ ุคคลweb.eng.ubu.ac.th/~personnel/personneldata/HRD plan2550... · 2019-05-15 · แผนการบริหารทร

41

แผนบริหารทรัพยากรบุคคล คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี 2550-2560

กรณีที่ 2 คิดตามมาตรฐานภาระงานของตําแหนงอาจารยจากชั่วโมงสอนตอสัปดาห เมื่อ ปริมาณงานที่ตองทําตามแผนงาน คอื จํานวนหนวยช่ัวโมงขั้นตํ่าตอสัปดาห และอัตราสวนประสิทธิภาพคือ 10 ชั่วโมงตอสัปดาห กําลังคนท่ีตองการ(อาจารย) = จํานวนหนวยช่ัวโมงรวมของภาควิชา (ตอสัปดาห) จํานวนชั่วโมงขั้นตํ่าตอสัปดาห = จํานวนหนวยช่ัวโมงรวมของภาควิชา (ตอสัปดาห) จํานวนชั่วโมงขั้นตํ่าตอสัปดาห แสดงผลการคํานวณไดตามตางที่ 4.7, 4.8, 4.9, 4.10, 4.11, 4.12

Page 46: แผนการบริหารทร ัพยากรบ ุคคลweb.eng.ubu.ac.th/~personnel/personneldata/HRD plan2550... · 2019-05-15 · แผนการบริหารทร

42

แผนบริหารทรัพยากรบุคคล คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี 2550-2560

ตารางที่ 4.7 สรุปจํานวนภาระงานเปนหนวยชั่วโมงรายภาควิชา

(1)สรุปจํานวนภาระงานเปนหนวยชั่วโมงรายภาควิชา

ระดับปริญญาตรี ภาควิชา ภาคการศึกษาที่ 1/2548 ภาคการศึกษาที่ 2/2548 ภาคการศึกษาที่ 1/2549 ภาคการศึกษาที่ 2/2549 ภาคการศึกษาที่ 1/2550 เฉลี่ย 5 ภกศ.

บ ป ชม./สปด.

ชม./ภกศ.

บ ป ชม./สปด.

ชม./ภกศ.

บ ป ชม./สปด.

ชม./ภกศ.

บ ป ชม./สปด.

ชม./ภกศ. บ ป ชม./สปด.

ชม./ภกศ.

บ ป ชม./สปด.

ชม./ภกศ.

เครื่อง กล

60.0 44.0 104.0 1,560.0 89.0 52.0 141.0 2,115.0 54.0 40.0 94.0 1,410.0 92.0 74.0 166.0 2,490.0 71.0 44.0 115.0 1,725.0 73.2 50.8 124.0 1,860.0

อุตสา หการ

75.0 60.0 135.0 2,025.0 105.0 88.0 193.0 2,895.0 85.0 70.0 155.0 2,325.0 116.0 102.7 218.7 3,280.0 93.0 73.3 166.3 2,495.0 94.8 78.8 173.6 2,604.0

เคมี 46.0 16.0 62.0 930.0 49.0 16.0 65.0 975.0 52.0 16.0 68.0 1,020.0 64.0 16.0 80.0 1,200.0 49.0 16.0 65.0 975.0 52.0 16.0 68.0 1,020.0

โยธา 57.0 26.0 83.0 1,245.0 62.0 24.0 86.0 1,290.0 64.5 22.0 86.5 1,297.5 73.0 26.0 99.0 1,485.0 73.0 22.0 95.0 1,425.0 65.9 24.0 89.9 1,348.5

ไฟฟา 124.0 74.7 198.7 2,980.0 87.0 81.3 168.3 2,525.0 103.0 98.0 201.0 3,015.0 78.0 62.0 140.0 2,100.0 102.0 84.0 186.0 2,790.0 98.8 80.0 178.8 2,682.0

รวม 362.0 220.7 582.7 8,740.0 392.0 261.3 653.3 9,800.0 358.5 246.0 604.5 9,067.5 423.0 280.7 703.7 10,555.0 388.0 239.3 627.3 9,410.0 384.7 249.6 634.3 9,514.5

Page 47: แผนการบริหารทร ัพยากรบ ุคคลweb.eng.ubu.ac.th/~personnel/personneldata/HRD plan2550... · 2019-05-15 · แผนการบริหารทร

43

แผนบริหารทรัพยากรบุคคล คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี 2550-2560

ตารางที่ 4.8 สรุปจํานวนภาระงานเปนหนวยชั่วโมงรายภาควิชา ระดับบัณฑิตศึกษา

(2) สรุปจํานวนภาระงานรายภาควิชา

ระดับบัณฑิตศึกษา

ภาควิชา ภาคการศึกษาที่ 1/2548 ภาคการศึกษาที่ 2/2548 ภาคการศึกษาที่ 1/2549 ภาคการศึกษาที่ 2/2549 ภาคการศึกษาที่ 1/2550 เฉลี่ย 5 ภกศ.

บ ป ชม./ สปด.

ชม./ภกศ.

บ ป ชม./สปด.

ชม./ภกศ.

บ ป ชม./สปด.

ชม./ภกศ.

บ ป ชม./สปด.

ชม./ภกศ.

บ ป ชม./สปด.

ชม./ภกศ.

บ ป ชม./สปด.

ชม./ภกศ.

เครื่อง กล

13.0 - 13.0 195.0 6.0 - 6.0 90.0 26.0 - 26.0 390.0 12.0 - 12.0 180.0 23.0 - 23.0 345.0 16.0 - 16.0 240.0

อุตสา หการ

30.0 - 30.0 450.0 12.0 - 12.0 180.0 23.0 2.0 25.0 375.0 21.0 - 21.0 315.0 30.0 - 30.0 450.0 23.2 0.4 23.6 354.0

เคม ี 61.0 - 61.0 915.0 56.0 - 56.0 840.0 65.0 - 65.0 975.0 63.0 - 63.0 945.0 65.0 - 65.0 975.0 62.0 - 62.0 930.0

โยธา 22.0 4.0 26.0 390.0 47.0 6.0 53.0 795.0 46.0 8.0 54.0 810.0 32.0 12.0 44.0 660.0 46.0 12.0 58.0 870.0 38.6 8.4 47.0 705.0

ไฟฟา - - - - - - - - - - - - - - - -

รวม 126.0 4.0 130.0 1,950.0 121.0 6.0 127.0 1,905.0 160.0 10.0 170.0 2,550.0 128.0 12.0 140.0 2,100.0 164.0 12.0 176.0 2,640.0 139.8 8.8 148.6 2,229.0

Page 48: แผนการบริหารทร ัพยากรบ ุคคลweb.eng.ubu.ac.th/~personnel/personneldata/HRD plan2550... · 2019-05-15 · แผนการบริหารทร

44

แผนบริหารทรัพยากรบุคคล คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี 2550-2560

ตารางที่ 4.9 สรุปจํานวนภาระงานเปนหนวยชั่วโมงรายภาควิชา ทุกระดับ

(3) สรุปจํานวนภาระงานรายภาควิชา (1)+(2)

รวมทุกระดับ

ภาค วิชา

ภาคการศึกษาที่ 1/2548 ภาคการศึกษาที่ 2/2548 ภาคการศึกษาที่ 1/2549 ภาคการศึกษาที่ 2/2549 ภาคการศึกษาที่ 1/2550 เฉลี่ย 5 ภกศ.

บ ป ชม./สปด.

ชม./ภกศ.

บ ป ชม./สปด.

ชม./ ภกศ.

บ ป ชม./สปด.

ชม./ ภกศ.

บ ป ชม./สปด.

ชม./ภกศ.

บ ป ชม./สปด.

ชม./ภกศ.

บ ป ชม./สปด.

ชม./ ภกศ.

ครื่อง กล

73.0 44.0 117.0 1,755

.0 95.0 52.0 147.0

2,205.0

80.0 40.0 120.0 1,800

.0 104.0 74.0 178.0

2,670.0

94.0 44.0 138.0 2,070

.0 89.2 50.8 140.0

2,100.0

อุตสา หการ

105.0 60.0 165.0 2,475

.0 117.0 88.0 205.0

3,075.0

108.0

72.0 180.0 2,700

.0 137.0 102.7 239.7

3,595.0

123.0 73.3 196.3 2,945

.0 118.0 79.2 197.2

2,958.0

เคม ี 107.0 16.0 123.0 1,845

.0 105.0 16.0 121.0

1,815.0

117.0

16.0 133.0 1,995

.0 127.0 16.0 143.0

2,145.0

114.0 16.0 130.0 1,950

.0 114.0 16.0 130.0

1,950.0

โยธา 79.0 30.0 109.0 1,635

.0 109.0 30.0 139.0

2,085.0

110.5

30.0 140.5 2,107

.5 105.0 38.0 143.0

2,145.0

119.0 34.0 153.0 2,295

.0 104.5 32.4 136.9

2,053.5

ไฟฟา 124.0 74.7 198.7 2,980

.0 87.0 81.3 168.3

2,525.0

103.0

98.0 201.0 3,015

.0 78.0 62.0 140.0

2,100.0

102.0 84.0 186.0 2,790

.0 98.8 80.0 178.8

2,682.0

รวม 488.0 224.7 712.7 10,69

0.0 513.0 267.3 780.3

11,705.0

518.5

256.0 774.5 11,617.5

551.0 292.7 843.7 12,655.0

552.0 251.3 803.3 12,050.0

524.5 258.4 782.9 11,74

3.5

หมายเหต ุ บ=บรรยาย, ป=ปฏิบัติการ,สปด.=สัปดาห,ภกศ.=ภาคการศกึษา

Page 49: แผนการบริหารทร ัพยากรบ ุคคลweb.eng.ubu.ac.th/~personnel/personneldata/HRD plan2550... · 2019-05-15 · แผนการบริหารทร

45

แผนบริหารทรัพยากรบุคคล คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี 2550-2560

ตารางที่ 4.10 สรุปจํานวนอาจารย(คน) ตามเกณฑภาระงานรายภาควิชาระดับปริญญาตรี

(4) สรุปจํานวนอาจารย(คน) ตามเกณฑภาระงานรายภาควิชา

ระดับปริญญาตรี เกณฑ 10 หนวยชั่วโมงตอคนตอสัปดาห

ภาควิชา ภาคการศึกษาที่ 1/2548 ภาคการศึกษาที่ 2/2548 ภาคการศึกษาที่ 1/2549 ภาคการศึกษาที่ 2/2549 ภาคการศึกษาที่ 1/2550 เฉลี่ย 5 ภกศ.

เครื่อง กล

6.0 4.4 10.4 8.9 5.2 14.1 5.4 4.0 9.4 9.2 7.4 16.6 7.1 4.4 11.5 7.3 5.1 12.4

อุตสา หการ

7.5 6.0 13.5 10.5 8.8 19.3 8.5 7.0 15.5 11.6 10.3 21.9 9.3 7.3 16.6 9.5 7.9 17.4

เคม ี 4.6 1.6 6.2 4.9 1.6 6.5 5.2 1.6 6.8 6.4 1.6 8.0 4.9 1.6 6.5 5.2 1.6 6.8

โยธา 5.7 2.6 8.3 6.2 2.4 8.6 6.5 2.2 8.7 7.3 2.6 9.9 7.3 2.2 9.5 6.6 2.4 9.0

ไฟฟา 12.4 7.5 19.9 8.7 8.1 16.8 10.3 9.8 20.1 7.8 6.2 14.0 10.2 8.4 18.6 9.9 8.0 17.9

Page 50: แผนการบริหารทร ัพยากรบ ุคคลweb.eng.ubu.ac.th/~personnel/personneldata/HRD plan2550... · 2019-05-15 · แผนการบริหารทร

46

แผนบริหารทรัพยากรบุคคล คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี 2550-2560

ตารางที่ 4.11 สรุปจํานวนอาจารย(คน) ตามเกณฑภาระงานรายภาควิชาระดับบัณฑิตศึกษา

(5)สรุปจํานวนอาจารย (คน) ตามเกณฑภาระงานรายภาควิชา

ระดับบัณฑิตศึกษาเกณฑ 6 หนวยชั่วโมงตอคนตอสัปดาห

ภาควิชา ภาคการศึกษาที่ 1/2548 ภาคการศึกษาที่ 2/2548 ภาคการศึกษาที่ 1/2549 ภาคการศึกษาที่ 2/2549 ภาคการศึกษาที่ 1/2550 เฉลี่ย 5 ภกศ.

เครื่อง กล

2.2 - 2.2 1.0 - 1.0 4.3 - 4.3 2.0 - 2.0 3.8 - 3.8 2.7 - 2.7

อุตสา หการ

5.0 - 5.0 2.0 - 2.0 3.8 0.3 4.2 3.5 - 3.5 5.0 - 5.0 3.9 0.1 3.9

เคม ี 10.2 - 10.2 9.3 - 9.3 10.8 - 10.8 10.5 - 10.5 10.8 - 10.8 10.3 - 10.3

โยธา 3.7 0.7 4.3 7.8 1.0 8.8 7.7 1.3 9.0 5.3 2.0 7.3 7.7 2.0 9.7 6.4 1.4 7.8

ไฟฟา - - - - - - - - - - - - - - - - - - -

รวม 21.0 0.7 21.7 325.0 20.2 1.0 21.2 317.5 26.7 1.7 28.3 425.0 21.3 2.0 23.3 350.0 27.3 2.0 29.3 440.0 23.3 1.5 24.8 371.5

Page 51: แผนการบริหารทร ัพยากรบ ุคคลweb.eng.ubu.ac.th/~personnel/personneldata/HRD plan2550... · 2019-05-15 · แผนการบริหารทร

47

แผนบริหารทรัพยากรบุคคล คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี 2550-2560

ตารางที่ 4.12 สรุปจํานวนอาจารย(คน) ตามเกณฑภาระงานรายภาควิชารวมทุกระดับ

(6)สรุปจํานวนอาจารย (คน) ตามเกณฑภาระงานรายภาควิชา (4)+(5)

รวมทุกระดับ

ภาควิชา ภาคการศึกษาที่ 1/2548 ภาคการศึกษาที่

2/2548 ภาคการศึกษาที่

1/2549 ภาคการศึกษาที่

2/2549 ภาคการศึกษาที่

1/2550 เฉลี่ย 5 ภกศ.

เครื่อง กล

8.2 4.4 12.6 9.9 5.2 15.1 9.7 4.0 13.7 11.2 7.4 18.6 10.9 4.4 15.3 10.0 5.1 15.1

อุตสา หการ

12.5 6.0 18.5 12.5 8.8 21.3 12.3 7.3 19.7 15.1 10.3 25.4 14.3 7.3 21.6 13.3 7.9 21.3

เคม ี 14.8 1.6 16.4 14.2 1.6 15.8 16.0 1.6 17.6 16.9 1.6 18.5 15.7 1.6 17.3 15.5 1.6 17.1

โยธา 9.4 3.3 12.6 14.0 3.4 17.4 14.1 3.5 17.7 12.6 4.6 17.2 15.0 4.2 19.2 13.0 3.8 16.8

ไฟฟา 12.4 7.5 19.9 8.7 8.1 16.8 10.3 9.8 20.1 7.8 6.2 14.0 10.2 8.4 18.6 9.9 8.0 17.9

รวม 57.2 22.7 79.9 59.4 27.1 86.5 62.5 26.3 88.8 63.6 30.1 93.7 66.1 25.9 92.1 61.8 26.4 88.2

หมายเหตุ บ=บรรยาย, ป=ปฏิบัติการ,สปด.=สัปดาห,ภกศ.=ภาคการศึกษา

เกณฑคิด ชม.ปฏิบัติการ 1.5 ชม.= 1 =บรรยายในที่นี้เปนตัวเลขที่คํานวณแลว

Page 52: แผนการบริหารทร ัพยากรบ ุคคลweb.eng.ubu.ac.th/~personnel/personneldata/HRD plan2550... · 2019-05-15 · แผนการบริหารทร

48

แผนบริหารทรัพยากรบุคคล คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี 2550-2560

ดังนั้น หากคิดตามเกณฑภาระงานงานสอนตอสัปดาหแลว คาเฉลี่ยจาก 5 ภาคการศึกษา พบวา จํานวนอาจารย ท่ีแตละภาคตองการ คอื

1. ภาควิชาวิศวกรรมเคร่ืองกล อยางนอยจํานวน 15.1 คน 2. ภาควิชาวิศวกรรมอุตสาหการ อยางนอยจํานวน 21.3 คน 3. ภาควิชาวิศวกรรมเคมี อยางนอยจํานวน 17.1 คน 4. ภาควิชาวิศวกรรมโยธา อยางนอยจํานวน 16.8 คน 5. ภาควิชาวิศวกรรมไฟฟาและอิเล็กทรอนิกส อยางนอยจํานวน 17.9 คน

รวมทุกภาควิชา อยางนอยจํานวน 88.2 คน กรณีที่ 3 คิดตามมาตรฐานภาระงานสอนตามจํานวนนกัศึกษาเต็มเวลาเทยีบเทา (Full Time Equivalent Students : FTES) เมื่อ ปริมาณงานที่ตองทําตามแผนงาน คอื ภาระงานสอนและเกณฑมาตรฐาน กําลังคนท่ีตองการ = ปริมาณงานที่ตองทําตามแผนงาน อัตราสวนประสิทธิภาพ กําลังอาจารยท่ีตองการ = FTES อัตราสวนประสิทธิภาพ (1: 15)

เมื่อ ปริมาณงานที่ตองทําตามแผนงาน คอื จํานวนนักศึกษา เต็มเวลา และอัตราสวนประสิทธิภาพคือ อาจารย 1 คน ตอนักศึกษาเต็มเวลา แสดงผลการคํานวณไดตามตางที่ 5.13

Page 53: แผนการบริหารทร ัพยากรบ ุคคลweb.eng.ubu.ac.th/~personnel/personneldata/HRD plan2550... · 2019-05-15 · แผนการบริหารทร

49

แผนบริหารทรัพยากรบุคคล คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี 2550-2560

ตารางที่ 4.13 จํานวนนักศึกษาเทียบเทา คณะวิศวกรรมศาสตร ปการศึกษา 2547-2550

ภาควิชา ป

การศึกษา

(1) FTESระดับปริญญาตรี

(2) จํานวนอาจารย(1:15)

(3) FTESระดับบัณฑิตศึกษา

(4) จํานวนอาจารย(1:7.5)

FTESผลรวม(1)+(3)

จํานวนอาจารยที่ควรมี

(2)+(4)

ME

2547 158.83 10.59 23.22 3.10 182.05 13.68 2548 163.36 10.89 38.28 5.10 201.64 15.99 2549 182.64 12.18 46.75 6.23 229.39 18.41

IE

2547 149.81 9.99 - - 149.81 9.99 2548 206.89 13.79 16.33 2.18 223.22 15.97 2549 219.69 14.65 66.50 8.87 286.19 23.51

Che

2547 32.69 2.18 45.00 6.00 77.69 8.18 2548 46.92 3.13 69.25 9.23 116.17 12.36 2549 60.67 4.04 50.92 6.79 111.59 10.83

CE

2547 68.14 4.54 - - 68.14 4.54 2548 65.19 4.35 64.67 8.62 129.86 12.97 2549 68.11 4.54 79.75 10.63 147.86 15.17

EE

2547 203.94 13.60 - - 203.94 13.60 2548 161.14 10.74 - - 161.14 10.74 2549 90.94 6.06 - - 90.94 6.06

รวม

2547 613.41 40.89 68.22 9.10 681.63 49.99 2548 643.50 42.90 188.53 25.14 832.03 68.04 2549 622.05 41.47 243.92 32.52 865.97 73.99

เฉล่ีย 3 ป 626.32 41.75 166.89 22.25 793.21 64.01

Page 54: แผนการบริหารทร ัพยากรบ ุคคลweb.eng.ubu.ac.th/~personnel/personneldata/HRD plan2550... · 2019-05-15 · แผนการบริหารทร

50

แผนบริหารทรัพยากรบุคคล คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี 2550-2560

4.4.2 สายสนับสนับสนุนวิชาการ 4.4.2.1 หลักเกณฑและขอกําหนดในการคํานวณกรอบอัตรากําลัง

ตําแหนงที่ปฏิบัติงานในหองปฏิบัติการ ของภาควิชาตางๆ ไดแก ตําแหนง 1.) ครู และ 2.) ชางเทคนิค ซึ่งมีหนาที่ในการชวยสอนวิชาปฏิบัติการและเตรียมหองปฏิบัติการ ท้ังนี้ ตามเกณฑของสํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษานั้นใหพิจารณาจากจํานวนหอง ลักษณะการใชหอง อุปกรณและประเภทเครื่องมือของหองปฏิบัติการวามีความจําเปนตองมีผูรับผิดชอบตลอดระยะเวลาการปฏิบัติงานหรือไม และเมื่อพิจารณาแลว ลักษณะการใชหองปฏิบัติการอุปกรณและประเภทเครื่องมือของหองปฏิบัติการคณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี จะเปนไปตามชั่วโมงปฏิบัติการ ดังนั้น จึงวิเคราะหอัตรากําลังของบุคลากรกลุมนี้ โดยอิงตามขอมูลภาระงานสอนวิชาปฏิบัติการของอาจารยและคิดช่ัวโมงจริงตามภาระงานสอน ท้ังนี้ เนื่องจากระยะเวลาการสอน เริ่มตนและสิ้นสุดพรอมๆกับการสอนของอาจารย จึงใชเกณฑภาระงานเดียวกันอับอาจารย คือ 10 ช่ังโมง ตอคนตอสัปดาห

4.4.2.2 ผลการวิเคราะห

เมื่อ ปริมาณงานที่ตองทําตามแผนงาน คอื จํานวนหนวยช่ัวโมงขั้นตํ่าตอสัปดาห และอัตราสวนประสิทธิภาพคือ 10 ชั่วโมงตอสัปดาห กําลังคนท่ีตองการ(ครู/ชางเทคนิค) = จํานวนหนวยช่ัวโมงรวมของภาควิชา (ตอสัปดาห) จํานวนชั่วโมงขั้นตํ่าตอสัปดาห = จํานวนหนวยช่ัวโมงรวมของภาควิชา (ตอสัปดาห) จํานวนชั่วโมงขั้นตํ่าตอสัปดาห แสดงผลการคํานวณไดตามตางที่ 5.14 -5.15

Page 55: แผนการบริหารทร ัพยากรบ ุคคลweb.eng.ubu.ac.th/~personnel/personneldata/HRD plan2550... · 2019-05-15 · แผนการบริหารทร

51

แผนบริหารทรัพยากรบุคคล คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี 2550-2560

ตารางที่ 4.14 สรุปจํานวนภาระงานวิชาปฏิบัติการเปนหนวยชั่วโมงรายภาควิชา ระดับปริญญาตรี

ภาควิชา ภาค

การศึกษาที่ 1/2548

ภาคการศึกษาที่

2/2548

ภาคการศึกษาท่ี

1/2549

ภาคการศึกษาที่

2/2549

ภาคการศึกษาที่

1/2550

เฉลี่ย 5 ภกศ.

ชม./สปด. ชม./สปด. ชม./สปด. ชม./สปด. ชม./สปด. ชม./สปด.

วิศวกรรมเครื่องกล 44.0 52.0 40.0 74.0 44.0 50.8

วิศวกรรมอุตสาหการ 60.0 88.0 70.0 102.7 73.3 78.8

วิศวกรรมเคมี 16.0 16.0 16.0 16.0 16.0 16.0

วิศวกรรมโยธา 26.0 24.0 22.0 26.0 22.0 24.0

วิศวกรรมไฟฟา 74.7 81.3 98.0 62.0 84.0 80.0

รวม 220.7 261.3 246.0 280.7 239.3 249.6

ตารางที่ 4.15 สรุปจํานวนอัตราบุคลากรสายสนุบสนุนวิชาการที่ตองการ(คน)

ในการชวยสอนวิชาปฏิบัติการตามหนวยชั่วโมงรายภาควิชา ระดับปริญญาตรี

ภาควิชา ภาค

การศึกษาที่ 1/2548

ภาคการศึกษาที่

2/2548

ภาคการศึกษาท่ี

1/2549

ภาคการศึกษาที่

2/2549

ภาคการศึกษาที่

1/2550

เฉลี่ย 5 ภกศ.

คน คน คน คน คน คน

วิศวกรรมเครื่องกล 4.4 5.2 4.0 7.4 4.4 5.1 วิศวกรรมอุตสาหการ 6.0 8.8 7.0 10.3 7.3 7.9

วิศวกรรมเคมี 1.6 1.6 1.6 1.6 1.6 1.6 วิศวกรรมโยธา 2.6 2.4 2.2 2.6 2.2 2.4 วิศวกรรมไฟฟา 7.5 8.1 9.8 6.2 8.4 8.0

รวม 22.1 26.1 24.6 28.1 23.9 25.0

Page 56: แผนการบริหารทร ัพยากรบ ุคคลweb.eng.ubu.ac.th/~personnel/personneldata/HRD plan2550... · 2019-05-15 · แผนการบริหารทร

52

แผนบริหารทรัพยากรบุคคล คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี 2550-2560

4.4.3 สายบริหารและธุรการทั่วไป 4.4.3.1 ผลการวิเคราะห

หนวยงาน

ปริมาณงานตอป

เกณฑมาตรฐาน

หนวยวัด

จํานวนคนท่ีตองมี

หมายเหต ุ

วิเคราะหโดยวิธี เทคนิคการวัดงาน (Work Measurement Technique)

1 สารบรรณ 5,788.23 1,610.00 ชั่วโมง 3.60

2 การเจาหนาที ่ 2,023.08 1,610.00 ชั่วโมง 1.26

3 การเงิน 9,043.57 1,610.00 ชั่วโมง 5.62

4 พัสด ุ 3,305.50 1,610.00 ชั่วโมง 2.05

5 นโยบายและแผน 3,228.50 1,610.00 ชั่วโมง 2.01

6 วิชาการ 4,790.33 1,610.00 ชั่วโมง 2.98

7 กิจการนักศกึษา 4,999.50 1,610.00 ชั่วโมง 3.11

8 บริการคอมพิวเตอรและระบบเครือขาย 5,609.17 1,610.00 ชั่วโมง 3.48

9 งานสนับสนุนการวิจัยและบริการวิชาการ 2,066.00 1,610.00 ชั่วโมง 1.28

10 งานบัณฑิตศึกษา 1,637.25 1,610.00 ชั่วโมง 1.02

13 หนวยซอมบํารุง 4,876.00 1,610.00 ชั่วโมง 3.03

14 หนวยพัฒนาระบบขอมูลและสารสนเทศเพื่อการบริหารจดัการ

1,794.50 1,610.00 ชั่วโมง 1.11

15 งานประกันคุณภาพ 1,610.00 1,610.00 ชั่วโมง 1.00

16 หนวยผลิตเอกสาร 1,622.77 1,610.00 ชั่วโมง 1.01

17 หัวหนาสํานักงานเลขานุการ 1,984.25 1,610.00 ชั่วโมง 1.23

วิเคราะหโดยวิธีอัตราสวนประสิทธิภาพ โดยคํานวณจากพื้นท่ีในการปฏิบัติงาน

18 หนวยภูมิทัศน 68,964.00 8,000.00 ตรม. 8.62 1คน/1600 ตรว.วนัX5 วัน

19 หนวยเทคโนโลยีทางการศกึษา 5,309.00 2,500.00 ตรม. 2.12

วิเคราะหโดยวิธีอัตราสวนประสิทธิภาพ โดยคํานวณจากจํานวนผูใชบริการ

20 บริการสารสนเทศทางวิศวกรรม 1,462.00 500 คน 2.92 เกณฑ สกอ.บรรณารักษ 1

ตอ นักศึกษา 500

ใชวิธีเปรียบเทียบอัตราสวน (Ratio) แบบ อัตราสวนพนักงานกับอุปกรณ

21 หนวยยานพาหนะ 2 1 คัน 2.00 1 คน ตอ 1 คัน

รวมอัตราที่ควรจะมี

49.44

อัตราที่มีในปจจุบัน

37.00

อัตราที่ควรขอเพิ่ม

12.44

Page 57: แผนการบริหารทร ัพยากรบ ุคคลweb.eng.ubu.ac.th/~personnel/personneldata/HRD plan2550... · 2019-05-15 · แผนการบริหารทร

53

แผนบริหารทรัพยากรบุคคล คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี 2550-2560

4.4.3.1 อธิบายการวิเคราะหหลักเกณฑและขอกําหนดในการคํานวณกรอบอัตรากําลัง หนวยงานที่ 1-15 กําหนดให 1 ตําแหนงตองมีภาระงานไมนอยกวา 35 ช่ัวโมงทําการตอสัปดาห หรือ 230 วัน / ป

เมื่อคํานวณอัตรากําลังโดยใชเทคนิคการวัดงาน อัตรากําลังที่ตองการ = ปริมาณงานใน 1 ป X เวลามาตรฐานตองาน 1 ช้ิน เวลาทํางานของพนักงาน 1 คน ตอ 1 ป

ปริมาณงานใน 1 ป ไดจากการศึกษาแผนงานขององคการหรือจากการเก็บรวบรวมสถิติผลงานท่ีผานมา

หนวยงานที่ 16-17 ใชวิธีเดลไฟ (Delphi Technique) โดยหนวยผลิตเอกสารในปจจุบันใชวิธีการจางเหมาเอกชนดําเนินการ ยกเวน กรณีการจัดทําขอสอบ จึงจําเปนตองมีเจาหนาที่ท่ีทําหนาที่ตรวจสอบเอกสารที่เอกชนดําเนินการกอนเสนอเรื่องขออนุมัติเบิกจาย และ ตองมีเจาหนาที่จัดทําขอสอบในการสอบกลางภาคและสอบปลายภาค รวมถึงการดูแลเครื่องถายเอกสารที่เปนครุภัณฑของคณะเอง จึงตองมีเจาหนาที่ปฏิบัติงานประจําดานนี้ อยางนอย 1 คน สวนหนวยประกันคุณภาพนั้น จําเปนตองมีเจาหนาที่ประสานงานเพื่อทําหนาที่ เลขานุการคณะกรรมการประกันคุณภาพ ประสานการจัดเก็บรวมรวมขอมูลและการจัดทํารายงานการประเมินตนเอง จึงตองมีเจาหนาที่ปฏิบัติงานประจําดานนี้ อยางนอย 1 คน หนวยงานที่ 18-19 ใชวิธีอัตราสวนประสิทธิภาพ (Output - Input Ratio) แบบที่ 2.1.3 คํานวณจากพื้นที่ กําหนดเกณฑมาตรฐานตอตารางเมตรในการใหบริการของพนักงาน 1 คน ท่ีตองรับผิดชอบดูแลในพื้นที่ และคํานวณพื้นที่ท่ีมีท้ังหมด ดังนั้น พื้นที่รับผิดชอบของคณะวิศวกรรมศาสตรมีท้ังหมด 68,964 ตรม.และคนสวนหนึ่งคนกําหนดพื้นที่รับผิดชอบ คนละ 5 ไร (8,000 ตรม.) คนสวน จํานวนพนักงานที่ตองการ = พท.ท้ังหมด (ตรม.) เกณฑมาตรฐานตอตารางเมตรในการใหบริการของพนักงาน 1 คน ดังนั้น จํานวนคนสวนที่ตองการ = 68,964 = 8.62 คน 8,000

Page 58: แผนการบริหารทร ัพยากรบ ุคคลweb.eng.ubu.ac.th/~personnel/personneldata/HRD plan2550... · 2019-05-15 · แผนการบริหารทร

54

แผนบริหารทรัพยากรบุคคล คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี 2550-2560

เจาหนาที่โสตทัศนศึกษา จํานวนพนักงานที่ตองการ = พท.ท้ังหมด (ตรม.) เกณฑมาตรฐานตอตารางเมตรในการใหบริการของพนักงาน 1 คน ดังนั้น จํานวนเจาหนาที่โสตทัศนศึกษาที่ตองการ = 5,309 = 2.1 คน 2,500 หนวยงานที่ 20 ใชวิธีอัตราสวนประสิทธิภาพ (Output - Input Ratio) แบบคํานวณจากจํานวนผูใชบริการ

คือนักศึกษา ตามเกณฑผูปฏิบัติงานในหองสมุดสถาบันอุดมศึกษา ตามประกาศทบวงมหาวิทยาลัย เรื่องมาตรฐานหองสมุดสถาบันอุดมศึกษา พ.ศ. 2544 ขอ 3.3.1 คือ

(1) ถาจํานวนนักศึกษาทั้งหมดไมเกิน 10,000 คน ใหใชสัดสวนนักศึกษา 500 คน ตอบรรณารักษ 1 คน สวนจํานวนนักศึกษาท่ีเกิน 10,000 คน แรก ขึ้นไป ใหใชสัดสวนนักศึกษาทุกๆ 2,000 คน ตอบรรณารักษ 1 คน

(2) จํานวนหนังสือ 150,000 เลมตอบรรณารักษ 1 คน และจํานวนหนังสือท่ีเพิ่มขึ้นในแตละป ทุกๆ 20,000 เลม ตอ บรรณารักษ 1 คน

บรรณารักษ จํานวนพนักงานที่ตองการ = จํานวนนักศึกษาทั้งหมด (คน) เกณฑมาตรฐานตอตารางเมตรในการใหบริการของพนักงาน 1 คน ดังนั้น จํานวนบรรณารักษท่ีตองการ = 1,462 = 2.9 คน 500 หนวยงานที่ 21 ใชวิธี เปรียบเทียบอัตราสวน (Ratio) แบบ อัตราสวนพนักงานกับอุปกรณ ซึ่งเปนเทคนิคที่ใชในการคํานวณกําลังคนของงานบางลักษณะ โดยพิจารณาจากเครื่องมือ เครื่องจักร หรืออุปกรณท่ีใชในการทํางาน ท้ังนี้ คณะวิศวกรรมศาสตร มีรถยนต จํานวน 2 คัน ดังนั้น จํานวนพนักงานขับรถยนตท่ีตองการ = 2 คน

Page 59: แผนการบริหารทร ัพยากรบ ุคคลweb.eng.ubu.ac.th/~personnel/personneldata/HRD plan2550... · 2019-05-15 · แผนการบริหารทร

55

แผนบริหารทรัพยากรบุคคล คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี 2550-2560

5. การพฒันาทรพัยากรบคุคล

Human Resource Development 5.1 บทนํา

“ทรัพยากรบุคคล คือสิ่งท่ีมีคาที่สุดขององคกร” เปนบทสรุปของปรัชญาการบริหารองคกรใหเกิดความกาวหนาและมีประสิทธิภาพสูงสุดที่ไดรับการยอมรับอยางแพรหลายในทุกวงการ ในปจจุบันถูกยกใหมีความสําคัญเปน “ทุนมนุษย” ทรัพยากรบุคคลไมใชเครื่องจักร ลักษณะของคนแตละคนนั้นแตกตางกันออกไป องคกรตองสงเสริมสนับสนุนใหทรัพยากรบุคคลทําตามความสามารถใหลุลวงไปจนเกิดผลิตภาพที่ดีแกองคกร ทรัพยากรบุคคลจะตองไดรับการกระตุนและสงเสริมในกระบวนการทํางาน ซึ่งจะตองเปนการกระตุนและสงเสริมในเชิงบวก ดังน้ัน การวางแผนอัตรากําลังคนและการพัฒนาทรัพยากรมนุษยขององคกรจึงตองทําอยางเปนระบบ ชัดเจนและระมัดระวังเพราะเรื่องของทรัพยากรมนุษยมีความละเอียดออนและเกี่ยวโยงกับทุกระบบ ทุกโครงสรางที่ยึดโยงกันเปนองคกรและความสัมพันธกับผลิตภาพผลิตผลขององคกร และกรอบแนวคิดและเนื้อหาของการพัฒนาทรัพยากรบุคคลจึงตองตระหนักถึง วิสัยทัศน (Vision) ประเด็นยุทธศาสตร (Strategic Issues) เปาประสงค (Goals) ยุทธศาสตร (Strategies) แผนงาน (Action Plans) โครงสรางองคกร (Organization) ระบบบริหารทรัพยากรบุคคล(Human Resources Management ) ภายใตแนวคิดหลัก : “สรรหา พัฒนา รักษา” ตามลําดับ 5.2 ยุทธศาสตรการพัฒนาทรัพยากรบุคคล มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี กําไดกําหนดประเด็นการพัฒนาทรัพยากรบุคคลไวใน แผนยุทธศาสตรของมหาวิทยาลัยอุบลราชธานีในชวงป พ.ศ. 2551 – 2560 ใน ยุทธศาสตรท่ี 1 พัฒนาอาจารยและบุคลากรเพื่อเตรียมความพรอมตอการพัฒนามหาวิทยาลัยในยุคที่มีการเปลี่ยนแปลงอยางรวดเร็ว โดยมีกลยุทธ ดังน้ี 1. ปรับความคิดของอาจารยและบุคลากรเกี่ยวกับการพัฒนาอุดมศึกษาตามกรอบแผนอุดมศึกษาระยะยาว 15 ป (2551-2565)

คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยอุบลราชธานีจึงกําหนดกรอบการเรียนรูขององคกรและบุคลากร ดังแสดงในรูปที่ 5.1 และ 5.2

Page 60: แผนการบริหารทร ัพยากรบ ุคคลweb.eng.ubu.ac.th/~personnel/personneldata/HRD plan2550... · 2019-05-15 · แผนการบริหารทร

56

แผนบริหารทรัพยากรบุคคล คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี 2550-2560

กรอบการเรียนรูขององคการกรอบการเรียนรูขององคการ ((Organizational Organizational LearningLearning))ท่ีตองการใหเกิดขึ้นที่ตองการใหเกิดขึ้น

แปลงนโยบายPOLICY

สูการดําเนินงานOPERATION

แปลงความคิดIDEA

สูการกระทําACTION

แปลงนามธรรมABSTRACT

ใหเปนรูปธรรมCONCRETE

องคกร: คณะวิศวะ บุคลากร

ใชความรู

วิสัยทัศน พันธกิจ ยุทธศาสตร

(เพ่ือแกจุดออน เรื่องการกระตุนติดตามนโยบายไปสูการปฏิบัติ)

P

C D

A

KM

ใชความรู

รูปที่ 5.1 กรอบการเรียนรูขององคกร

วงจรการเรียนรู

ประสบการณตรงประสบการณตรง

สังเกต ไตรตรองสังเกต ไตรตรอง

สรางแนวคิดสรางแนวคิด

ทดลอง ดูผลทดลอง ดูผล

ทํา

คิด

ทํางานใหม เรียนรูจากการสังเกตปญหาที่เคยเกิดตองไมเกิดซ้ํา ภายใตเงื่อนไขและสิ่งแวดลอมเดิม ตองรูวิธีปองกันทํางานเดิมซ้ําตอง เร็วข้ึน ชํานาญขึ้น ไดผลมากข้ึน

KMKM

KM

รูปที่ 5.2 วงจรการเรียนรูขององคกร

2. จัดทําแผนพัฒนาอาจารยและบุคลากร

Page 61: แผนการบริหารทร ัพยากรบ ุคคลweb.eng.ubu.ac.th/~personnel/personneldata/HRD plan2550... · 2019-05-15 · แผนการบริหารทร

57

แผนบริหารทรัพยากรบุคคล คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี 2550-2560

คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยอุบลราชธานีจึงกําหนดแผนบริหารทรัพยากรบุคคล คณะวิศวกรรมศาสตร 2550-2560 ขึ้นเพื่อรองรับ 3. พัฒนาคุณภาพผูบริหารและอาจารย คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยอุบลราชธานีจึงกําหนดพัฒนาคุณภาพผูบริหารและอาจารยไวในแผนบริหารทรัพยากรบุคคล คณะวิศวกรรมศาสตร 2550-2560 4. ธํารงรักษาและพัฒนาอาจารยและบุคลากรอยางตอเนื่องเพื่อใหมีประสิทธิภาพและประสิทธิผลและมีความสุขในการทํางานเพื่อรองรับการปลี่ยนแปลงของสังคมและกอใหเกิดผลงานที่มีคุณภาพ คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยอุบลราชธานีจึงกําหนดกรอบแนวคิดในเรื่องนี้ ตามรูปที่ 5.3

สรุปภาพรวมสรุปภาพรวม

คุณภาพงาน : มีผลิตภาพ ประสิทธิภาพOne stop service/วิจัยและพัฒนา/ระบบQA/ ความถูกตอง+ความนาเชื่อถือ

คุณภาพคน :Service minded ออนนอมถอมตน /อดทน/จิตใจดี

ความคิดสรางสรรคภาษา

ความสามารถในการจัดการการวางแผน

Multi function + ITความสามารถดานวิจัย

คุณภาพชีวิตท่ีบาน :สวัสดิภาพ สุขภาพกาย ครอบครวั เงินออมคุณภาพชีวิตท่ีทํางาน :สวัสดิการ สุขภาพจิตส่ิงแวดลอมดี ความสามัคคี การใหเกียรติ การไววางใจความม่ันคง ปลอดภัยสุขอนามัย

KM

KM

KM คาใชจาย (Low Cost) คุณภาพของบริการ (Good Quality) การใหบริการ (Satisfied services) และความรวดเร็ว ถูกตอง (speed+ accuracy)"

รูปที่ 5.3 ภาพรวมการพัฒนาบุคลากรของคณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี

ท้ังนี้ มีความสอดคลองกับยุทธศาตรของคณะวิศวกรรมศาสตร ในดานการพัฒนาสถาบันและบุคลากร ดังนี้

Page 62: แผนการบริหารทร ัพยากรบ ุคคลweb.eng.ubu.ac.th/~personnel/personneldata/HRD plan2550... · 2019-05-15 · แผนการบริหารทร

58

แผนบริหารทรัพยากรบุคคล คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี 2550-2560

ยุทธศาสตรการพัฒนาคณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี ในระยะ 10 ป (2549-2560) คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยอุบลราชธาน ี

5.ยุทธศาสตรดานการพัฒนาสถาบันและบุคลากร ยุทธศาสตรที่ 1 พัฒนาอาจารยและบุคลากรเพื่อเตรียมความพรอมตอการพัฒนามหาวิทยาลัยในยุคที่มีการเปลี่ยนแปลงอยางรวดเร็ว

กลยุทธของคณะวิศวะฯ มอบ. มาตรการ ความสอดคลองกับ กลยุทธ มอบ.

(ที่ปรับใหมป 2551-2560) ชวงป 2551-2560 1. กระจายอาํนาจและภาระงานใหภาควิชามากขึ้น

1. มอบอํานาจการบริหารงานบางสวนใหภาควิชา 2. เพิ่มเจาหนาที่สายสนับสนุนใหภาควิชา 3. ใชอัตราสวน อาจารยตอนักศึกษา ในการจัดอัตราอาจารยใหแกภาควิชา 4. จัดทําแผนกลยุทธ และแผนจัดหา/ใชจายงบประมาณ (8.1 ขอ1-2)

1. ปรับความคิดของอาจารยและบุคลากรเกี่ยวกับการพัฒนาอุดมศึกษาตามกรอบแผนอุดมศึกษาระยะยาว 15 ป (2551-2565)

2. ปรับปรุงระบบการบริหารงาน

1. พัฒนาระบบสารสนเทศ เพื่อการบริหารและการจัดการ (8.1 ขอ3) 2. พัฒนาระบบจัดการฐานขอมูลเพื่อการตัดสินใจ (8.1 ขอ3) 3. พัฒนาระบบการตรวจสอบภายในที่เนนผลงานตามยุทธศาสตร 4. ปรับปรุงระบบการรายงานใหถูกตองและรวดเร็ว (8.1 ขอ4)

1. ปรับความคิดของอาจารยและบุคลากรเกี่ยวกับการพัฒนาอุดมศกึษาตามกรอบแผนอุดมศึกษาระยะยาว 15 ป (2551-2565)

3. พัฒนาคุณภาพชีวิตของบุคลากร

9.จัดทํานโยบายและแผนการบริหารทรัพยากรบุคคลที่เปนรูปธรรม(7.4 ขอ 1) 10.พัฒนาระบบและกลไกในการบริหารทรัพยากรบุคคลที่ เปนการสงเสริมสมรรถนะในการทํางาน (7.4 ขอ 2)

11.ใหมีคาตอบแทนที่เหมาะสมกับภาระงาน (7.4 ขอ 3) 12.จัดสิ่งแวดลอมในหองทํางานและสรางบรรยากาศการทํางานใหเหมาะสมมากขึ้น(7.4 ขอ 3)

13.จัดสิ่งแวดลอมใหมีความรมรื่นมากยิ่งขึ้น (7.4 ขอ 3) 14.มีสถานที่จอดยานพาหนะที่เหมาะสม (7.4 ขอ 3)

2. จัดทําแผนพัฒนาอาจารยและบคุลากร 4. ธํารงรักษาและพัฒนาอาจารยและบุคลากรอยางตอเนื่องเพื่อใหมีประสิทธิภาพและประสิทธิผลและมีความสุขในการทํางานเพื่อรองรับการปลี่ยนแปลงของสังคม

Page 63: แผนการบริหารทร ัพยากรบ ุคคลweb.eng.ubu.ac.th/~personnel/personneldata/HRD plan2550... · 2019-05-15 · แผนการบริหารทร

59

แผนบริหารทรัพยากรบุคคล คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี 2550-2560

15.พัฒนาระบบสวัสดิการและเสริมสรางสุขภาพที่ดี (7.4 ขอ 3) 16.สงเสริมและพัฒนาบุคลากรใหมีศักยภาพและสามารถมีโอกาสประสบความสําเร็จและกาวหนาในอาชีพอยางรวดเร็วตามสายงาน (7.4 ขอ 4)

17.จัดระบบประเมินความพึงพอใจของบุคลากร(7.4 ขอ 5) 4. พัฒนาความรูของบุคลากร 18.จัดอบรมเพิ่มพูนความรูดานการใชโปรแกรมคอมพิวเตอรใหม ๆ

19.จัดอบรมความรูดานภาษาอังกฤษ 20.สงเสริมการดูงานที่หนวยงาน/สถาบัน 21.สงเสริมการเขารวมอบรม/สัมมนา ที่จัดโดยหนวยงาน/สถาบันภายนอก 22.สงเสริมดานจริยธรรมใหแกบุคลากร

3. พัฒนาคุณภาพผูบริหารและอาจารย 4. ธํารงรักษาและพัฒนาอาจารยและบุคลากรอยางตอเนื่องเพื่อใหมีประสิทธิภาพและประสิทธิผลและมีความสุขในการทํางานเพื่อรองรับการปลี่ยนแปลงของสังคม

หมายเหตุ - ยุทธศาสตรการพัฒนาคณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี ในระยะ 10 ป (2550-2560) กําหนดใหครอบคลุม ถึง ป 2549 ดวยเนื่องจากเปนปที่เริ่มแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 10 - ขอความในวงเล็บเปนการบงชี้การตอบสนองตัวชี้วัดการประกันคุณภาพตามเกณฑ สมศ.

Page 64: แผนการบริหารทร ัพยากรบ ุคคลweb.eng.ubu.ac.th/~personnel/personneldata/HRD plan2550... · 2019-05-15 · แผนการบริหารทร

60

แผนบริหารทรัพยากรบุคคล คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี 2550-2560

5.3 เปาหมายการพัฒนาทรัพยากรบุคคล ภายใตกรอบนโยบายดานการบริหารงานบุคคล (Human Resource Management Policies) ตาม ขอ 3.2 คือ

1. วางแผนกําลังคนอยางเหมาะสมตามกรอบเปาหมายภารกิจ 2. กําหนดกระบวนการคัดเลือกคนเขาสูตําแหนงดวยระบบคุณธรรม และดําเนินการดวยความเปนธรรม โปรงใส

ตรวจสอบได 3. สงเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิตของบุคลากรใหมีคุณภาพชีวิตและสวัสดิการที่ดีอันจะนําไปสูความจงรักภักดี

องคกร 4. จัดระบบการประเมินผลงานที่มีประสิทธิภาพเปนธรรม เพื่อกําหนดคาตอบแทน สิทธิประโยชน สวัสดิการที่

เหมาะสมกับภาระงาน สมรรถนะและผลการปฏิบัติงาน 5. วางแผน สงเสริม และ พัฒนาบุคลากรเพื่อใหมีความรูความสามารถเหมาะสมในการเลื่อนระดับ ตําแหนงตาม

เสนทางกาวหนาตามตําแหนงงาน (Career path) และเกิดความกาวหนาในสายงานหรือวิชาชีพที่ครองอยู 6. พัฒนาบุคลากรมีความรู ความสามารถในงานเพิ่มขึ้นเพื่อการปฏิบัติงานมีประสิทธิภาพ ประสิทธิผลโดยสามารถวัด

ไดจากความรวดเร็วในการทํางาน ความรอบรูในงาน ความถูกตองของขอมูลที่เกี่ยวกับงาน ระยะเวลาการปฏิบัติงานที่เหมาะสม 7. สนับสนุนการจัดอบรมเพิ่มพูนความรูดานการใชโปรแกรมคอมพิวเตอรใหม ๆ ความรูดานภาษาอังกฤษ

8. สงเสริมการเขารวมอบรม/สัมมนา ที่จัดโดยหนวยงาน คณะวิศวกรรมศาสตร มุงพัฒนาทรัพยากรบุคคลของคณะเพื่อใหม็นคนที่มีคุณลักษณะ ดังนี้ 1.) เปนคนมีน้ําใจ ( Spirit) 2.) ไฝหาความรู ( Personal Mastery) 3.) มีความวิริยะ อุตสาหะ ( Perservering) 4.) มีความเปนธรรมและซื่อสัตย ( Fairness&Integrity ) 5.) เห็นแกสวนรวม ( Altruism ) 6.) รูหนาที่ในงาน ในครอบครัว ( Morality & Ethics ) 7.) มีทัศนคติท่ีดี ( Positive Attitude ) 8.) มีวินัยและมีสัมมาคารวะ ( Dicipline&Respectful ) 9.) มีเหตุมีผล ( Rational ) 10.) รักษาชื่อเสียงทั้งสวนตัวและองคกร (Loyalty) หรือโดยสรุปบุคลากรคณะวิศวกรรมศาสตรควรมีความเกงครอบคลุม 4 ดาน คือ 1.) เกงงาน ( Working ) 2.) เกงคน ( Staffing ) 3.) เกงคิด ( Creating ) 4.) เกงเรียน ( Learning )

Page 65: แผนการบริหารทร ัพยากรบ ุคคลweb.eng.ubu.ac.th/~personnel/personneldata/HRD plan2550... · 2019-05-15 · แผนการบริหารทร

61

แผนบริหารทรัพยากรบุคคล คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี 2550-2560

5.4 แผนพัฒนาทรัพยากรบุคคล 5.4.1 กรอบแนวคิด การพัฒนาทรัพยากรบุคคลของคณะวิศวกรรมศาสตร ยึดกรอบแนวคิด การพัฒนาใน 3 ลักษณะ คือ - การพัฒนาเพื่อปรับปรุงผลการปฏิบัติงาน - การัพฒนาศักยภาพของบุคลากร - การพัฒนาระดับความสามารถในการทํางาน ซึ่งสามารถนําไปสูระบบการวัดผล การพัฒนาและใชประโยชนในกระบวนการบริหารงานบุคคลตอเนื่องไปในลักษณะที่สอดคลองกัน ซึ่งสอดคลองกับแนวคิดขององคกรช้ันนําที่ประสบความสําเร็จอยางสูงดานระบบบริหารงานทรัพยากรมนุษย หลายแหง

5.4.2 แผนปฏิบัติการการบริหารทรัพยากรบุคคล และโครงสรางหลักสูตรในการพัฒนาบุคลากร (Training Roadmap) จากการประมวลขอมูลจากสวนตางๆภายใตกรอบวิสัยทัศน (Vision) ประเด็นยุทธศาสตร (Strategic Issue) เปาประสงค (Goal) ยุทธศาสตร (Strategies) แผนงาน (Action Plan) โครงสรางองคกร (Organization) ระบบบริหารทรัพยากรบุคคล(Human Resources Management ) และจากการทําแบบสํารวจความตองการฝกอบรมของบุคลากรสายสนับสนุนในชวงป 2550-2560 สามารถจัดทําแผนปฏิบัติการการบริหารทรัพยากรบุคคล คณะวิศวกรรมศาสตร 2550-2560 (ดูภาคผนวก)และโครงสรางหลักสูตรในการพัฒนาทรัพยากรบุคคลของคณะวิศวกรรมศาสตร ได ดังนี้

ดาน การวัด ผลท่ีได การนําไปใช

ผลการปฏิบัติงาน (Performance)

ผลสัมฤธิ์/การบรรลุ

เปาหมาย (Achievement KPI)

ระดับความสามารถใน

การทํางาน(Performance Level)

การเล่ือนขั้น การเพิ่ม

คาจาง ( Merit Increase)

ศักยภาพ (Potential)

คุณลักษณะ(Chracteristic)

Personal Leadership Managerial

ระดับศักยภาพของ

คนทํางาน (Potential Level)

ความกาวหนา (Career Path)

รางวัลพิเศษ ( Special Adjustment)

ระดับความสามารถ (Competency)

สมรรถนะ(Competency)

Core Competency Functional

Competency

ระดับสมรรถนะ(Competency Level)

การพัฒนาบุคลากร

ประยุกตโดยมีที่มาจาก บจม. ปูนซเีมนตไทย

Page 66: แผนการบริหารทร ัพยากรบ ุคคลweb.eng.ubu.ac.th/~personnel/personneldata/HRD plan2550... · 2019-05-15 · แผนการบริหารทร

62

แผนบริหารทรัพยากรบุคคล คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี 2550-2560

5.4.2.1 Training Roadmap สําหรับบุคลากรสายอาจารย

สายงาน 0-6 เดือน 6 เดือน- 1 ป 1-2 ป 2-4 ป 4 ป ขึ้นไป หัวหนาภาควิชา

ปฐมนิเทศ

สอนและวิจยั

เรยีนรูเรื่ององคกร เทคนิคการสอน การเขียนขอเสนอโครงการวิจัย การเจรจาตอรอง การสัมภาษณและการสรร

หา ความรูพื้นฐานในการ

ปฏิบัติงาน การจัดทําสื่อการสอน การนําเสนองานอยาง

มีประสิทธิภาพ การนําเสนองานอยางมีประสิทธิภาพ Stress management

การทํางานเปนทีม การใหคําปรึกษา E-Learning การแกปญหาและการตัดสินใจ Time management

การทําวิจัยในชัน้

เรยีน การพัฒนาตนเอง การพัฒนาภาวะผูนํา

หลักการบังคับบัญชา

การบริหารขอเสนอแนะ

Electronic Personal Portfolio*

Statistical Method for Quality Improvement

ความคิดสรางสรรคและการระดมสมอง

การทํางานเปนทีม

การทํางานเปนทีม Advance

การเตรยีมตวัเกษียณอาย ุ

ธรรมะ

* ปรับปรุงเพิ่มเติม 2551

Page 67: แผนการบริหารทร ัพยากรบ ุคคลweb.eng.ubu.ac.th/~personnel/personneldata/HRD plan2550... · 2019-05-15 · แผนการบริหารทร

63

แผนบริหารทรัพยากรบุคคล คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี 2550-2560

5.4.2.1 Training Roadmap สําหรับบุคลากรสายสนับสนุน

สายงาน 0-6 เดือน 6 เดือน- 1 ป 1-2 ป 2-4 ป 4 ป ขึ้นไป หัวหนางานหรือเทียบเทา หัวหนาภาควิชาหรือเทียบเทา

ปฐมนิเทศ กลุมหัวขอดานความรูพื้นฐานในการปฏิบัติงาน

ปฏิบัติการ/บริหารทั่วไป

เรยีนรูเรื่ององคกร เทคนิคการใหบริการที่ดี การเจรจาตอรอง การเจรจาตอรอง การสัมภาษณและการสรรหา คอมพิวเตอรเบื้องตน Electronic Personal Portfolio * Stress management การทํางานเปนทีม การทํางานเปนทีม

ความปลอดภยัในการทํางาน การแกปญหาและการตัดสินใจ Time management ระบบโปรแกรมรับสงเอกสาร การเขียนรายงาน การบริหารความปลอดภยั

ความรูเกี่ยวกับกฎหมายและขอบังคับดานการบริหารงานบคุคล สําหรับ ขาราชการ พนักงาน ลูกจาง ความรูในการพัฒนางานและการประยุกต

การนําเสนองานอยางมีประสิทธิภาพ การพัฒนาความคิดสรางสรรค หลักการบังคับบัญชา เทคนิคการสอนงานแบบ OJT การพัฒนาภาวะผูนํา ศิลปะการพูดและการสื่อสารทีม่ีประสิทธิภาพ การบริหารขอเสนอแนะ

ความรูเกี่ยวกับการจัดกระบวนการเรียนรู การจัดกิจกรรมเรยีนรูแบบบูรณาการ การจัดกิจกรรมการเรียนรูแบบ e-learning Statistical Method for Quality Improvement การทําวิจัยสถาบัน

ความรูเกี่ยวการประกันคุณภาพ

แนวทางการประเมินตนเองและการจดัทํา

รายงานการประเมินตนเอง เทคนิคการบรหิารจดัการคุณภาพ

การพัฒนาระบบขอมูลและสารสนเทศ คอมพิวเตอรและสารสนเทศ

การสรางและพัฒนาฐานขอมูลเบื้องตน MS Excel ในงานสํานักงาน การจัดทําเว็บไซต การวิเคราะหขอมูลทางสถิติดวยโปรแกรมคอมพิวเตอร Internet สําหรับงานสํานักงาน

อื่นๆ การทํางานเปนทีม Advance

การเตรยีมตวัเกษียณอาย ุธรรมะ

* ปรับปรุงเพิ่มเติม 2551

Page 68: แผนการบริหารทร ัพยากรบ ุคคลweb.eng.ubu.ac.th/~personnel/personneldata/HRD plan2550... · 2019-05-15 · แผนการบริหารทร

64

แผนบริหารทรัพยากรบุคคล คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี 2550-2560

6. คาตอบแทนและสวสัดกิาร

Compensation Management 6.1 ระบบคาตอบแทน 1. กลุมขาราชการ ไดรับ - เงินเดือน เงินประจําตําแหนง (ตามพระราชกฤษฎีกาวาดวยเงินเดือนและเงินประจําตําแหนง) - คาตอบแทนนอกเหนือจากเงินเดือน (ตามระเบียบกระทรวงการคลังวาดวยการเบิกจายเงินคาตอบแทนนอกเหนือจากเงินเดือนของขาราชการและลูกจางประจําของสวนราชการ พ.ศ.2547 ) - เงินเพิ่มการครองชีพช่ัวคราว(ตามระเบียบกระทรวงการคลัง วาดวยเงินเพิ่มการครองชีพช่ัวคราวสําหรับขาราชการและลูกจางประจําของสวนราชการ พ.ศ. 2548 ) 2. กลุมลูกจางประจํา ไดรับ - เงินคาจาง (ตามระเบียบกระทรวงการคลังวาดวยลูกจางประจําของสวนราชการ พ.ศ. 2537) - คาตอบแทนนอกเหนือจากเงินเดือน (ตามระเบียบกระทรวงการคลังวาดวยการเบิกจายเงินคาตอบแทนนอกเหนือจากเงินเดือนของขาราชการและลูกจางประจําของสวนราชการ พ.ศ.2547 ) - เงินเพิ่มการครองชีพช่ัวคราว(ตามระเบียบกระทรวงการคลัง วาดวยเงินเพิ่มการครองชีพช่ัวคราวสําหรับขาราชการและลูกจางประจําของสวนราชการ พ.ศ. 2548 ) 3. กลุมพนักงาน ไดรับ - เงินเดือน - เงินคาสวัสดิการ - เงินคาประสบการณ - เงินเพ่ิมการครองชีพช่ัวคราว(เทียบเคียง ตามระเบียบกระทรวงการคลัง วาดวยเงินเพิ่มการครองชีพช่ัวคราวสําหรับขาราชการและลูกจางประจําของสวนราชการ พ.ศ. 2548 ) 4. กลุมลูกจางชั่วคราว ไดรับ - เงินเดือน - เงินเพ่ิมการครองชีพช่ัวคราว(เทียบเคียง ตามระเบียบกระทรวงการคลัง วาดวยเงินเพิ่มการครองชีพช่ัวคราวสําหรับขาราชการและลูกจางประจําของสวนราชการ พ.ศ. 2548 ) นอกจากนี้ บุคลากรท่ีปฏิบัติงานสายวิชาการ ซึ่งไดแก อาจารยและครูปฏิบัติการ ยังมีสิทธิเบิกคาสอนพิเศษ ตาม ระเบียบกระทรวงการคลังวาดวยการจายเงินคาสอนพิเศษ ในมหาวิทยาลัย (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2538 ดวย 6.2 ระบบสวัสดิการและสิทธิประโยชน - สวัสดิการคารักษาพยาบาลกลุมขาราชการและลูกจางประจําจะไดรับตามระเบียบกระทรวงการคลัง

Page 69: แผนการบริหารทร ัพยากรบ ุคคลweb.eng.ubu.ac.th/~personnel/personneldata/HRD plan2550... · 2019-05-15 · แผนการบริหารทร

65

แผนบริหารทรัพยากรบุคคล คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี 2550-2560

- สวัสดิการการเบิกคาการศึกษาของบุตรกลุมขาราชการและลูกจางประจําจะได รับตามระเบียบกระทรวงการคลัง - สวัสดิการคารักษาพยาบาลกลุมพนักงานและลูกจางชั่วคราวจะไดรับตามกฎหมายประกันสังคม - สิทธิประโยชน ในการขอพระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ - สิทธิประโยชนในการลา (ของขาราชการ ลูกจางประจํา ลูกจางช่ัวคราว ) ไดแก การลาปวย การลาคลอดบุตรการลากิจสวนตัว การลาพักผอน การลาอุปสมบทหรือการลาไปประกอบพิธีฮัจย ( เฉพาะขาราชการ)การลาเขารับการตรวจเลือกหรือเขารับการเตรียมพล ( เฉพาะขาราชการ) - สิทธิประโยชนในการเปนสมาชิกกองทุนบําเหน็จบํานาญขาราชการ (กบข.) สําหรับขาราชการ - สิทธิประโยชนในการเปนสมาชิกกองทุนสวัสดิการลูกจาง (กสจ.) สําหรับลูกจางประจํา - สิทธิประโยชนในการไดรับการจัดสรรใหเขาพักที่พักอาศัยของมหาวิทยาลัย - สิทธิประโยชนในการสมัครเปนสมาชิกสหกรณออมทรัพย - สิทธิประโยชนในการนั่งรถรับสงของมหาวิทยาลัยเพื่อมาปฏิบัติงาน - สิทธิประโยชนในการไดรับการจัดสรรเงินกูเพ่ือซ้ือท่ีอยูอาศัยตามโครงการสวัสดิการของมหาวิทยาลัยและโครงการที่เปนความรวมมือระหวางรัฐกับสถาบันการเงินตางๆ - สิทธิประโยชนในการเปนสมาชิกกบข. ขาราชการที่เปนสมาชิก กบข. จะไดรับสิทธิประโยชนตางๆนอกเหนือจากเงินบําเหน็จ บํานาญตามสูตรซึ่งไดรับจากกระทรวงการคลังดังนี้ 1) สิทธิในการรับเงินสมทบ สมาชิกจะไดรับเงินสมทบจากรัฐในจํานวนเทากับที่สมาชิกสะสมเปนประจําทุกเดือน 2) สิทธิประโยชนทางภาษี สมาชิกสามารถนําใบแจงยอดแนบพรอมแบบภ.ง.ด. 90 หรือ 91 เพื่อยกเวนภาษีเงินไดบุคคลธรรมดาในสวนของเงินสะสมเขา กบข. เฉพาะที่ไมเกิน 300,000 บาทในปภาษีนั้น 3) สิทธิประโยชนอื่นๆ สมาชิกจะไดรับสวัสดิการตางๆตามที่ กบข. จะไดจัดใหมีขึ้น

Page 70: แผนการบริหารทร ัพยากรบ ุคคลweb.eng.ubu.ac.th/~personnel/personneldata/HRD plan2550... · 2019-05-15 · แผนการบริหารทร

66

แผนบริหารทรัพยากรบุคคล คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี 2550-2560

7. ระบบการประเมนิ

Performance Appraisal

คณะวิศวกรรมศาสตร มีการประเมินผลการปฏิบัติงานของบุคลากรปละ 2 ครั้ง โดยใชแบบประเมินผลการปฏิบัติงานตามลักษณะงาน ดังนี้ 7.1 บุคลากรสายอาจารย ใชแบบประเมินเรียกวา “แบบฟอรมการประเมินผลงาน ความสามารถ และคุณลักษณะของอาจารย” โดยมีองคประกอบ ดังน้ี 1.) ปริมาณงานในหนาที่หลัก (60 คะแนน) ไดแก งานสอน ( 20 คะแนน) งานเขียนและปรับปรุงเอกสารประกอบการสอน (5 คะแนน) งานอาจารยท่ีปรึกษางานโครงงานนักศึกษาหรือวิทยานิพนธ ( 10 คะแนน) การเขารวมกิจกรรมที่เกี่ยวของกับนักศึกษาอาจารยท่ีปรึกษากิจกรรมหรือชุมนุม/ชมรม (5 คะแนน) งานเขียนบทความวิชาการและงานวิจัย งานบริการวิชาการและงานทํานุบํารุงศิลปวัฒนธรรม (20 คะแนน) 2.) งานในหนาที่พิเศษที่ไดรับมอบหมาย (10 คะแนน) 3.) คุณภาพและคุณลักษณะในการทํางาน (30 คะแนน) แยกเปน 6 ขอยอย คือ - การอุทิศเวลาใหกับงานราชการ - ความทุมเทและคุณภาพในงานสอน - ความรวมมือประสานงานกับผูบังคับบัญชา - ความรวมมือประสานงานกับผูรวมงาน - ความรับผิดชอบตองานที่ไดรับมอบหมาย - ความรวมมือในการประกันคุณภาพ หมายเหตุ เกณฑการประเมินไดรับการปรับปรุงลาสุด เมื่อเดือน สิงหาคม 2550 7.2 บุคลากรสายสนับสนุน ใชแบบประเมินเรียกวา “แบบประเมินผลการปฏิบัติงานเพื่อประกอบการพิจารณาความดีความชอบ สําหรับบุคลากรสายสนับสนุนการสอน” โดยมีองคประกอบตามหลักอิทธิบาท 4 ของพุทธศาสนา ดังนี ้ องคประกอบที่ 1 ฉันทะ (ความพอใจในหนาที่ หนวยงาน องคกร) 25 คะแนน มี 4 ดาน คือ 1.1 ทราบและเขาใจภาระงานตามคําสั่งโดยชอบของผูบังคับบัญชาที่ระบุใน Job Description มีตัวช้ีวัดและคาระดับจากนอยไปหามาก ดังนี้ ระดับ 0 ไมทราบภาระงานของตนเอง+ปริมาณนอย+ไมสนใจปฏิบัติงานตามที่ไดรับมอบหมาย

Page 71: แผนการบริหารทร ัพยากรบ ุคคลweb.eng.ubu.ac.th/~personnel/personneldata/HRD plan2550... · 2019-05-15 · แผนการบริหารทร

67

แผนบริหารทรัพยากรบุคคล คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี 2550-2560

ระดับ 1-2 มีภาระงานกําหนดชัดเจน+ปริมาณไมมาก+ปฏิบัติงานตามที่ไดรับมอบหมายไมไดครบทุกอยาง ระดับ 3-4 มีภาระงานกําหนดชัดเจน+ปริมาณปานกลาง+ปฏิบัติงานตามที่ไดรับมอบหมายทุกอยาง ระดับ 5 (ดีมาก) มีภาระงานกําหนดชัดเจน+ปริมาณมาก+ปฏิบัติงานตามที่ไดรับมอบหมายทุกอยาง 1.2 การมีสวนรวมในการพัฒนาหนวยงานและองคกร มีตัวชี้วัดและคาระดับจากนอยไปหามาก ดังนี้ ระดับ 0 ไมสนใจไมเคยเขารวมกิจกรรมสวนรวม เชนการประชุม การสัมมนา กิจกรรมอบรม ระดับ 1-2 สนใจเขารวมกิจกรรมสวนรวม เชนการประชุม การสัมมนา กิจกรรมอบรม นอยมาก ระดับ 3-4 สนใจเขารวมกิจกรรมสวนรวม เชนการประชุม การสัมมนา กิจกรรมอบรม เปนสวนมากเกือบทุกกิจกรรม ระดับ 5 (ดีมาก) สนใจเขารวมกิจกรรมสวนรวม เชนการประชุม การสัมมนา กิจกรรมอบรม ทุกกิจกรรม 1.3 การทํางานรวมกับผูอื่น มีตัวชี้วัดและคาระดับจากนอยไปหามาก ดังนี้ ระดับ 0 ไมสามารถทํางานรวมกับผูอื่น มีขอขัดแยงเสมอๆ ระดับ 1-2 ชอบทํางานคนเดียวขาดทัศนคติเชิงบวกในการทํางานรวมกับผูอื่น ตองใหผูอื่นมาประสานงานจึงจะใหความรวมมือและมีขอขัดแยงในการทํางานบอยๆ ระดับ 3-4 มีทัศนคติเชิงบวกในการทํางานรวมกับผูอื่น สามารถประสานงานและใหความรวมมือในการทํางานกับทุกๆคนโดยมีขอขัดแยงแตสามารถทํางานจนสําเร็จได ระดับ 5 (ดีมาก) มีทัศนคติเชิงบวกในการทํางานรวมกับผูอื่น สามารถประสานงานและใหความรวมมือในการทํางานกับทุกๆคนโดยไมมีขอขัดแยง 1.4 การอุทิศตนเพื่อสวนรวม มีตัวช้ีวัดและคาระดับจากนอยไปหามาก ดังนี้ ระดับ 0 ไมสนใจชวยปฏิบัติงานในกิจการของคณะ/มหาวิทยาลัย ท้ังในและนอกเวลาราชการ ทํางานเฉพาะวันเวลาราชการเทานั้น ระดับ 1-2 ชวยปฏิบัติงานในกิจการของคณะ/มหาวิทยาลัยแมไมใชหนาที่โดยตรง นานครั้ง และเฉพาะกรณีมีประโยชนตอบแทน

Page 72: แผนการบริหารทร ัพยากรบ ุคคลweb.eng.ubu.ac.th/~personnel/personneldata/HRD plan2550... · 2019-05-15 · แผนการบริหารทร

68

แผนบริหารทรัพยากรบุคคล คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี 2550-2560

ระดับ 3-4 ชวยปฏิบัติงานในกิจการของคณะ/มหาวิทยาลัยแมไมใชหนาที่โดยตรง แม นอกเวลาราชการ แมไมมีคาตอบแทนใดๆ ตามสมควรแกโอกาส ระดับ 5 (ดีมาก) ชวยปฏิบัติงานในกิจการของคณะ/มหาวิทยาลัย/ภารกิจเรงดวนแมไมใชหนาที่โดยตรง แม นอกเวลาราชการ แมไมมีคาตอบแทนใดๆทุกๆครั้งที่ไดรับการรองขอหรือแจงเพื่อทราบ องคประกอบที่ 2 วิริยะ (ความเพียรพยายามตอการทํางานในหนาที่) 25 คะแนน มี 4 ดาน คือ 2.1 เขาทํางานตรงเวลา มีตัวช้ีวัดและคาระดับจากนอยไปหามาก ดังนี้ ระดับ 0 ในรอบการประเมินเคยเขาทํางานสายหรือกลับกอนเวลาเฉลี่ยเกินเดือนละ10 ครั้ง ระดับ 1-2 ในรอบการประเมินเคยเขาทํางานสายหรือไมเคยกลับกอนเวลาเฉลี่ยเกินเดือนละ5แตไมเกิน 10 ครั้ง ระดับ 3-4 ในรอบการประเมินเคยเขาทํางานสายหรือไมเคยกลับกอนเวลาเฉลี่ยเกินเดือนละ5 ครั้ง ระดับ 5 (ดีมาก) ในรอบการประเมินเคยเขาทํางานสายหรือไมเคยกลับกอนเวลาเฉลี่ยเกินเดือนละ3 ครั้ง 2.2 มีการปฏิบัติงานเต็มศักยภาพตามหนาที่ประจําและหนาที่พิเศษ มีตัวช้ีวัดและคาระดับจากนอยไปหามาก ดังน้ี ระดับ 0 ภาระงานตามขอ 1.1+ ไมมีหนาที่พิเศษที่คณะหรือ มหาวิทยาลัยมอบหมาย+ ไมใสใจปฏิบัติงาน ระดับ 1-2 ภาระงานตามขอ 1.1+ ไมมีหนาที่พิเศษที่คณะหรือ มหาวิทยาลัยมอบหมาย ระดับ 3-4 ภาระงานตามขอ 1.1+ มีหนาที่พิเศษที่คณะหรือ มหาวิทยาลัยมอบหมายบางเรื่องและปฏิบัติไดครบถวน ระดับ 5 (ดีมาก) ภาระงานตามขอ 1.1+ มีหนาที่พิเศษที่คณะหรือ มหาวิทยาลัยมอบหมายคอนขางมากและปฏิบัติไดครบถวนทั้งงานภายในคณะและงานมหาวิทยาลัย 2.3 มีการวางแผนและปฏิทินในการทํางาน มีตัวช้ีวัดและคาระดับจากนอยไปหามาก ดังนี้ ระดับ 0 ไมมีแผนการปฏิบัติงาน/โครงการที่จะดําเนินการในปงบประมาณ ไมมีการวางปฏิทินการทํางานในรอบป ระดับ 1-2 มีเพียงชื่อโครงการที่จะดําเนินการในปงบประมาณแต ไมมีรายละเอียดอะไรที่ชัดเจน ระดับ 3-4 มีแผนการปฏิบัติงาน/โครงการที่จะดําเนินการในปงบประมาณ มีการวางปฏิทินการทํางานในรอบปแตยังขาดความชัดเจน

Page 73: แผนการบริหารทร ัพยากรบ ุคคลweb.eng.ubu.ac.th/~personnel/personneldata/HRD plan2550... · 2019-05-15 · แผนการบริหารทร

69

แผนบริหารทรัพยากรบุคคล คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี 2550-2560

ระดับ 5 (ดีมาก) มีแผนการปฏิบัติงาน/โครงการที่จะดําเนินการในปงบประมาณ มีการวางปฏิทินการทํางานในรอบปอยางชัดเจน 2.4 มีการติดตามงานและรายงานความกาวหนาเปนระยะ มีตัวช้ีวัดและคาระดับจากนอยไปหามาก ดังนี้ ระดับ 0 ไมมีการรายงานการปฏิบัติงานโดยแบบฟอรมรายงานทุกเดือนและรายงานผานที่ประชุมของหนวยงานเลย ระดับ 1-2 มีการรายงานการปฏิบัติงานโดยแบบฟอรมรายงานทุกเดือนและรายงานผานท่ีประชุมของหนวยงานแตไมสม่ําเสมอ ระดับ 3-4 มีการรายงานการปฏิบัติงานโดยแบบฟอรมรายงานทุกเดือนหรือรายงานผานที่ประชุมของหนวยงาน(อยางใดอยางหนึ่ง) ระดับ 5 (ดีมาก) มีการรายงานการปฏิบัติงานโดยแบบฟอรมรายงานทุกเดือนและรายงานผานท่ีประชุมของหนวยงาน องคประกอบที่ 3 จิตตะ (ความเอาใจใสตองานในหนาที่) 25 คะแนน มี 4 ดาน คือ 3.1 มีการปฏิบัติงานตามแผนสําเร็จโดยรอบคอบและตรงตามกําหนดเวลา มีตัวช้ีวัดและคาระดับจากนอยไปหามาก ดังนี้ ระดับ 0 ไมมีแผนการปฏิบัติงาน/โครงการที่จะดําเนินการในปงบประมาณ ไมมีการวางปฏิทินการทํางานในรอบป ระดับ 1-2 มีแผนการปฏิบัติงาน/โครงการที่จะดําเนินการในปงบประมาณ มีการวางปฏิทินการทํางานในรอบปและแตปฏิบัติไดนอยมาก ระดับ 3-4 มีแผนการปฏิบัติงาน/โครงการที่จะดําเนินการในปงบประมาณ มีการวางปฏิทินการทํางานในรอบปและแตปฏิบัติไมไดครบถวน ระดับ 5 (ดีมาก) มีแผนการปฏิบัติงาน/โครงการที่จะดําเนินการในปงบประมาณ มีการวางปฏิทินการทํางานในรอบปและปฏิบัติไดครบถวน 3.2 มีการประเมินหนวยงานทีส่ังกัดจากผูรับบริการ มีตัวช้ีวัดและคาระดับจากนอยไปหามาก ดังน้ี ระดับ 0 (0 คะแนน)=ไมมีแบบประเมินและการสํารวจผลความพึงพอใจในการบริการเลย โดยตองมีเอกสารแบบประเมินมาแสดงประกอบ ระดับ 5 (ดีมาก) (5 คะแนน)=ในรอบการประเมิน (6 เดือน) มีการสํารวจผลความพึงพอใจในการบริการอยางนอย 1 ครั้ง

Page 74: แผนการบริหารทร ัพยากรบ ุคคลweb.eng.ubu.ac.th/~personnel/personneldata/HRD plan2550... · 2019-05-15 · แผนการบริหารทร

70

แผนบริหารทรัพยากรบุคคล คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี 2550-2560

3.3 ผลความพึงพอใจจากผูรับบริการ มีตัวช้ีวัดและคาระดับจากนอยไปหามาก ดังน้ี ในรอบการประเมิน 6 เดือน มีการสํารวจและมีผลผลความพึงพอใจ (5 คะแนน)= ระดับดีมาก (4 คะแนน)= ระดับดี (3 คะแนน)= ระดับปานกลาง (2 คะแนน)= ระดับพอใช (1 คะแนน)= ระดับควรปรับปรุง (0 คะแนน)= ไมมีการประเมินจากผูรับบริการเลย โดยตองมีรายงาน สรุปผลการประเมินมาแสดงประกอบ 3.4 มีการติดตามและเก็บรวบรวมขอมูล สถิต ิตัวเลขที่เกี่ยวของกับงานของตน มีตัวช้ีวัดและคาระดับจากนอยไปหามาก ดังน้ี ระดับ 0 ไมมีขอมูลเชิงปริมาณในงานที่รับผิดชอบเลย ระดับ 1-2 มีขอมูลเชิงปริมาณในงานที่รับผิดชอบนอยมาก การจัดเก็บไมเปนระบบและไมมีการวิเคราะหเพ่ือใชรายงานหรือเสนอผูบริหารเพื่อพิจารณา ระดับ 3-4 มีขอมูลเชิงปริมาณในงานที่รับผิดชอบแตจัดเก็บไมเปนระบบและไมมีการวิเคราะหเพ่ือใชรายงานหรือเสนอผูบริหารเพื่อพิจารณา ระดับ 5 (ดีมาก) มีขอมูลเชิงปริมาณในงานที่รับผิดชอบจัดเก็บอยางเปนระบบและมีการวิเคราะหเพื่อใชรายงานหรือเสนอผูบริหารเพื่อพิจารณา องคประกอบที่ 4 วิมังสา (การตรวจสอบแกไข พัฒนา ปรับปรุงตนเอง) 25 คะแนน มี 4 ดาน คือ 4.1 มีการเสนอแนะและปรับปรุงงานของตนเอง มีตัวชี้วัดและคาระดับจากนอยไปหามาก ดังนี้ ระดับ 0 ไมมีการสํารวจขอบกพรอง จุดออนจุดแข็งของงานในหนาที่และไมมีการนําเสนอใหผูบังคับบัญชาทราบ ระดับ 1-2 ไมมีการสํารวจขอบกพรอง จุดออนจุดแข็งของงานในหนาที่ และนําเสนอใหผูบังคับบัญชาทราบเมื่อถูกถามเทานั้น ระดับ 3-4 มีการสํารวจขอบกพรอง จุดออนจุดแข็งของงานในหนาที่และนําเสนอใหผูบังคับบัญชาทราบ ระดับ 5 (ดีมาก) สํารวจขอบกพรอง จุดออนจุดแขง็ของงานในหนาที่และนําเสนอใหผูบังคับบัญชาทราบพรอมทั้งแนวทางในการปรับปรุงแกไขอยูเสมอ 4.2 มีการเขารับการพัฒนาเพื่อเพิ่มพูนความรู มีตัวช้ีวัดและคาระดับจากนอยไปหามาก ดังนี้ ระดับ 0 ไมมีมีการเขารับการอบรม สัมมนา ศึกษาตอนอกเวลาราชการ เพื่อเพิ่มพูนความรูและทักษะในการทํางานเลย

Page 75: แผนการบริหารทร ัพยากรบ ุคคลweb.eng.ubu.ac.th/~personnel/personneldata/HRD plan2550... · 2019-05-15 · แผนการบริหารทร

71

แผนบริหารทรัพยากรบุคคล คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี 2550-2560

ระดับ 1-2 มีการ1.)เขารับการอบรม หรือ2.)สัมมนา หรือ3.)ศึกษาตอนอกเวลาราชการ หรือ4.)ศึกษาดูงานเพื่อเพิ่มพูนความรูและทักษะ อยางใดอยางหนึ่งแตไมตรงกับการทํางานในหนาที่ ระดับ 3-4 มีการ1.)เขารับการอบรม หรือ2.)สัมมนา หรือ3.)ศึกษาตอนอกเวลาราชการ หรือ4.)ศึกษาดูงานเพื่อเพิ่มพูนความรูและทักษะในการทํางานในหนาที่ อยางใดอยางหนึ่ง ระดับ 5 (ดีมาก) มีการ1.)เขารับการอบรม และ2.)สัมมนา หรือ3.)ศึกษาตอนอกเวลาราชการ หรือ4.)ศึกษาดูงานเพื่อเพิ่มพูนความรูและทักษะในการทํางานในหนาที่ 4.3 มีการทําคูมือการใชบริการและมีการเผยแพร หรือทําวิจัยองคกร มีตัวช้ีวัดและคาระดับจากนอยไปหามาก ดังน้ี ระดับ 0 ไมมีอะไรเลย ระดับ 1-2 มี 1.) เอกสารแผนพับแจงรายละเอียดขั้นตอนการทํางาน ระดับ 3-4 มี 1.) คูมือการทํางานอยางเดียว ระดับ 5 (ดีมาก) มี 1.) การวิจัยสถาบันและ2.)คูมือการทํางาน 4.4 มี การใชเทคโนโลยีสารสนเทศ มีตัวช้ีวัดและคาระดับจากนอยไปหามาก ดังนี้ ระดับ 0 ไมมีโปรแกรมสําเร็จรูปเฉพาะที่ใชในงานที่ชวยใหทํางานไดรวดเร็วขึ้น ไมใชโปรแกรมสํานักงานท่ัวไปได เชน WORD/Excel เลย ระดับ 1-2 มี 1.)โปรแกรมสําเร็จรูปเฉพาะที่ใชในงานที่ชวยใหทํางานไดรวดเร็วขึ้น หรือ2.)ใชโปรแกรมสํานักงานท่ัวไปได เชน WORD/Excelเพียงอยางเดียว ระดับ 3-4 มี 1.)โปรแกรมสําเร็จรูปเฉพาะที่ใชในงานที่ชวยใหทํางานไดรวดเร็วขึ้น หรือ2.)ใชโปรแกรมสํานักงานท่ัวไปได เชน WORD/Excel และ 3.)ใช E-mail, Internet เพ่ือการแจงขอมูลขาวสารและประกาศตางๆ (1หรือ 2 และ 3) ระดับ 5 (ดีมาก) มี 1.)โปรแกรมสําเร็จรูปเฉพาะที่ใชในงานที่ชวยใหทํางานไดรวดเร็วขึ้นและ 2.)ใชโปรแกรมสํานักงานท่ัวไปได เชน WORD/Excel และ 3.)ใช E-mail ,Internet เพ่ือการแจงขอมูลขาวสารและประกาศตางๆ (1+2+3) หมายเหต ุ เกณฑการประเมินไดรับการปรับปรุงลาสุด เมื่อเดือน กันยายน 2549

Page 76: แผนการบริหารทร ัพยากรบ ุคคลweb.eng.ubu.ac.th/~personnel/personneldata/HRD plan2550... · 2019-05-15 · แผนการบริหารทร

72

แผนบริหารทรัพยากรบุคคล คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี 2550-2560

8. ระบบความกาวหนาในสายวชิาชพี

Career Path 8.1 ขาราชการสายวิชาการ โครงสรางตําแหนงและความกาวหนาในสายวิชาชีพ เปนไปตามตารางโครงสรางตําแหนงขาราชการพลเรือนในสถาบันอุดมศึกษา ตําแหนงวิชาการตามมาตรา 18 (ก) ของพระราชบัญญัติระเบียบขาราชการพลเรือนในสถาบันอุดมศึกษา พ.ศ. 2547ท่ีคณะกรรมการขาราชการพลเรือนในสถาบันอุดมศึกษา (ก.พ.อ.) กําหนด ดังนี้

ประเภท ชื่อสายงาน ชื่อตําแหนง ระดับ

ก) ตําแหนงวิชาการ (1 สายงาน, 4 ตําแหนง)

สอนและวิจัย หรือวิจัยโดยเฉพาะ

1.อาจารย (วุฒิ ปริญญาโท ปฏิบัติงาน 5 ป ขอกําหนดตําแหนงสูงขึ้น เปนผูชวยศาสตราจารย

4-7

อาจารย (วุฒิ ปริญญาเอก ปฏิบัติงาน 2 ป ขอกําหนดตําแหนงสูงขึ้น เปนผูชวยศาสตราจารย

2.ผูชวยศาสตราจารย ปฏิบัติงาน 3 ป ขอกําหนดตําแหนงสูงขึ้น เปนรองศาสตราจารย

6-8

3.รองศาสตราจารย ปฏิบัติงาน 2 ป ขอกําหนดตําแหนงสูงขึ้น เปนศาสตราจารย

7-9

4.ศาสตราจารย 9-10,11

Page 77: แผนการบริหารทร ัพยากรบ ุคคลweb.eng.ubu.ac.th/~personnel/personneldata/HRD plan2550... · 2019-05-15 · แผนการบริหารทร

73

แผนบริหารทรัพยากรบุคคล คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี 2550-2560

อาจารยป.เอก 2 ปป.โท 5 ปป.ตรี 9 ป

ผูชวยศาสตราจารย3 ป

รองศาสตราจารย2 ป

ศาสตราจารย

รูปที่ 8.1 แสดงเสนทางความกาวหนาในสายงานอาชีพ ตําแหนงอาจารย

ท้ังนี้ บุคลาการสายวิชาการที่มีสถานภาพเปนพนักงานมหาวิทยาลัยนั้นคณะกรรมการบริหารงานบุคคล มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี ใหถือโครงสรางตําแหนงและความกาวหนาในสายวิชาชีพตามหลักเกณฑนี้ โดยอนุโลม 8.2 ขาราชการสายสนับสนุน โครงสรางตําแหนง ครงสรางตําแหนงและความกาวหนาในสายวิชาชีพ เปนไปตามตารางแสดงประเภทตําแหนงขาราชการพลเรือนในสถาบันอุดมศึกษา ตําแหนงประเภทผูบริหาร ตําแหนงประเภททั่วไปวิชาชีพเฉพาะ หรือเช่ียวชาญเฉพาะ ตามพระราชบัญญัติระเบียบขาราชการพลเรือนในสถาบันอุดมศึกษา พ.ศ. 2547 ท่ีคณะกรรมการขาราชการพลเรือนในสถาบันอุดมศึกษา (ก.พ.อ.) กําหนด ดังนี้

Page 78: แผนการบริหารทร ัพยากรบ ุคคลweb.eng.ubu.ac.th/~personnel/personneldata/HRD plan2550... · 2019-05-15 · แผนการบริหารทร

74

แผนบริหารทรัพยากรบุคคล คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี 2550-2560

ปฏิบัติการป.เอก 2 ปป.โท 5 ปป.ตรี 9 ป---------ปวส.12 ปปวช.16 ป

ชํานาญการ3 ป

--------ผูมีประสบการณ

เชี่ยวชาญ2 ป

เชี่ยวชาญพิเศษ

รูปที่ 8.2 แสดงเสนทางความกาวหนาในสายงานอาชีพ ตําแหนงสายสนับสนุนวิชาการ

ปฏิบัติการ

หัวหนางาน,กลุมงานภายในคณะ/

สํานัก/กอง

บริหารระดับตน(ผูอํานวยการกอง,หัวหนาสํานักงานเลขานุการคณะ)

หัวหนาสํานักงานอธิการบดี/

สํานักงานวทิยาเขต

รูปที่ 8.3 แสดงเสนทางความกาวหนาในสายงานตําแหนงบริหารของสายสนับสนุนวิชาการ

Page 79: แผนการบริหารทร ัพยากรบ ุคคลweb.eng.ubu.ac.th/~personnel/personneldata/HRD plan2550... · 2019-05-15 · แผนการบริหารทร

75

แผนบริหารทรัพยากรบุคคล คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี 2550-2560

โครงสรางระดับตําแหนงที่ ก.พ.อ.กําหนด

ตําแหนงประเภทผูบริหาร 1) ตําแหนงหัวหนาหนวยงาน/กลุมงานใน ระดับสถาบันอุดมศึกษา ไดแก - ตําแหนงหัวหนาสํานักงานอธิการบดี กําหนดเปนตําแหนงระดับ 8, 9 - ตําแหนงหัวหนาสํานักงานวิทยาเขต กําหนดเปนตําแหนงระดับ 8, 9 - หัวหนาหนวยงานที่มีลักษณะงานพิเศษ (โรงพยาบาล) - ตําแหนงหัวหนาหนวยงานท่ีมีลักษณะงานที่ใชวิชาชีพ กําหนดเปนตําแหนงระดับ 8, 9 - ตําแหนงหัวหนาหนวยงานท่ีมีลักษณะงานที่มิไดใชวิชาชีพ กําหนดเปนตําแหนงระดับ 7, 8 2)ตําแหนงหัวหนาหนวยงาน/กลุมงานระดับกอง /สํานักงานเลขานุการคณะหรือหนวยงานท่ีเทียบเทา - ตําแหนงผูอํานวยการกอง/กลุมงานในสํานักงานอธิการบดี/สํานักงานวิทยาเขต

กําหนดเปนตําแหนงระดับ 7-8

- ตําแหนงหัวหนาสํานักงานเลขานุการคณะหรือเทียบเทา กําหนดเปนตําแหนงระดับ 7, 8 3) ตําแหนงหัวหนากลุมงานหรือเทียบเทาภายในสถาบัน/สํานัก/ศูนยหรือหนวยงานที่เทียบเทา ซึ่งปฏิบัติภารกิจหลักของสถาบันอุดมศึกษา

4) ตําแหนงหัวหนาหนวยงานภายในกอง/สํานักงานเลขานุการคณะ หรือหนวยงานที่เทียบเทา

กําหนดเปนตําแหนงระดับ 7

ตําแหนงประเภททั่วไป วิชาชีพเฉพาะหรือเชี่ยวชาญเฉพาะ

1) กลุมปฏิบัติการระดับตน ซ่ึงเปนสายงานที่เริ่มตนจากระดับ 1 และ 2

โครงสรางระดับตําแหนงที่ ก.พ.อ.กําหนด กรณีตําแหนงตามวุฒิการศึกษา -บรรจุ วุฒิ ปวช. หรือเทียบเทา กําหนดเปนตําแหนงระดับควบ 1-3 -บรรจุวุฒิ ปวส. หรือเทียบเทา กําหนดเปนตําแหนงระดับควบ 2-4 กรณีตําแหนงที่มีประสบการณ -วุฒิ ปวช. กําหนดเปนตําแหนงระดับ 4, 5 -วุฒิ ปวส. กําหนดเปนตําแหนงระดับ 5, 6 กรณีตําแหนงระดับชํานาญการ กําหนดเปนตําแหนงระดับ 6,7-8

Page 80: แผนการบริหารทร ัพยากรบ ุคคลweb.eng.ubu.ac.th/~personnel/personneldata/HRD plan2550... · 2019-05-15 · แผนการบริหารทร

76

แผนบริหารทรัพยากรบุคคล คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี 2550-2560

2) กลุมปฏิบัติการระดับกลาง ซ่ึงเปนสายงานที่เร่ิมตนจากระดับ 3 ขึ้นไป

โครงสรางระดับตําแหนงที่ ก.พ.อ.กําหนด กรณีตําแหนงตามวุฒิการศึกษา -บรรจุปริญญาตรี หรือเทียบเทา กําหนดเปนตําแหนงระดับควบ 3-6 -บรรจุวุฒิปริญญาโทหรือเทียบเทา กําหนดเปนตําแหนงระดับควบ 4-7 กรณีตําแหนงระดับชํานาญการ กําหนดเปนตําแหนงระดับ 6, 7-8 กรณีตําแหนงระดับเชี่ยวชาญและเชี่ยวชาญพิเศษ -เช่ียวชาญ กําหนดเปนตําแหนงระดับ 9 -เช่ียวชาญพิเศษ กําหนดเปนตําแหนงระดับ 10

8.3 กลุมลูกจางประจํา มีความกาวหนาตามลําดับ ดังนี้ - กลุมที่ 1 หมวดแรงงาน ก่ึงฝมือ ฝมือ ฝมือพิเศษระดับตน - กลุมที่ 2 หมวดฝมือพิเศษระดับกลาง - กลุมที่ 3 หมวดฝมือพิเศษระดับสูง - กลุมที่ 4 หมวดฝมือพิเศษเฉพาะ 8.4 กลุมพนักงานมหาวิทยาลยั สายวิชาการ มีความกาวหนาตามลําดับ ดังนี้ 1. ตําแหนงอาจารย 2. ตําแหนงผูชวยศาสตราจารย 3. ตําแหนงรองศาสตราจารย 4. ตําแหนงศาสตราจารย สายสนับสนุน สามารถกาวหนาได 2 ทาง คือ สายงานในตําแหนงประเภททั่วไป วิชาชีพเฉพาะ และเชี่ยวชาญเฉพาะ 1. ระดับปฏิบัติการ มีความกาวหนาตามลําดับ ดังนี้ 2. ระดับผูชํานาญการ 3. ระดับผูเช่ียวชาญ 4. ระดับผูเช่ียวชาญพิเศษ 8.5 กลุมลูกจางชั่วคราว สามารถขอรับการประเมินเพื่อปรับสภาพเปนพนักงานตามประกาศ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี วาดวยหลักเกณฑ วิธีการและเงื่อนไขการปรับสภาพเปนพนักงาน พ.ศ. 2549 และสามารถกาวหนาตามเสนทางความกาวหนาของพนักงานตอไป

Page 81: แผนการบริหารทร ัพยากรบ ุคคลweb.eng.ubu.ac.th/~personnel/personneldata/HRD plan2550... · 2019-05-15 · แผนการบริหารทร

77

แผนบริหารทรัพยากรบุคคล คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี 2550-2560

8.6 กิจกรรมโครงการ คณะวิศวกรรมศาสตร มีกิจกรรม โครงการที่สนับสนุนอาจารยและบุคลากรใหมีความคิด ริเริ่มในการจัดทําผลงานทางวิชาการ ท่ีจะใชเปนผลงานในการขอกําหนดตําแหนงทางวิชาการ อันถือเปนการสงเสริมใหมีความกาวหนาในสายงานอาชีพอยางรวดเร็ว เชน การขอกําหนดตําแหนงผูชวยศาสตราจารย รองศาสตราจารย ศาสตราจารย ตําแหนงชํานาญการ เชี่ยวชาญ เชน

สายงาน การสงเสริม แหลงขอมูล

อาจารย ใหขอมูล/ความรูเกี่ยวกับหลักเกณฑ ขั้นตอนและวิธีการขอกําหนดตําแหนงทางวิชาการ

www.eng.ubu.ac.th/~personnel

ใหขอมูลเทคนิคการเขียนตํารา/เอกสารทางวิชาการ www.eng.ubu.ac.th/~personnel

การจัดอบรมเทคนิคการเขียนตํารา/เอกสารทางวิชาการ

ฐานขอมลูเพื่อการแจงเตือนการครบกําหนดระยะเวลาการย่ืนขอกําหนดตําแหนงทางวิชาการ

งานการเจาหนาที่ สํานักงานเลขานุการ

จัดทําคูมืองานวิจัยเพื่อสงเสริมใหอาจารย บุคลากรทํางานวิจัย

http://web.eng.ubu.ac.th/~seminar/research/

จัดโครงการวันนักวิจัยสัญจรเพื่อสงเสริม สนับสนุนใหอาจารยออกไปเย่ียมชมหนวยงานตางๆและหาโจทยวิจัยรวมกัน

http://web.eng.ubu.ac.th/~seminar/research/

จัดเงินคาตอบแทนการตีพิมพผลงานทางวิชาการ http://web.eng.ubu.ac.th/~seminar/research/

จัดทําวารสารวิชาการวิศวกรรมศาสตร ม.อบ. เพื่อเปนแหลงตีพิมพผลงานทางวิชาการ

http://web.eng.ubu.ac.th/~seminar/research/

สายสนับสนุน บริการใหคําปรึกษาเร่ืองการจัดเตรียมเอกสารและการเตรียมตัวเพ่ือขอกําหนดตําแหนงชํานาญการ

www.eng.ubu.ac.th/~personnel

กําหนดใหมีการจัดทําคูมือการปฏิบัติงานไวในการประเมินผลการปฏิบัติงานประจําป เพื่อใหบุคลากรสายสนับสนุนมีการพัฒนาการจัดทําคูมือการปฏิบัติงานอยางตอเนื่องและใชเปนเอกสารประกอบการประเมินเพื่อเลื่อนระดับ และใชประกอบการขอตําแหนงชํานาญการในอนาคต

งานการเจาหนาที่ สํานักงานเลขานุการ

จัดโครงการอบรม “พื้นฐานความรู มุงสูงานวิจัยเพื่อชุมชน” เพื่อสงเสริมใหบุคลากรทํางานวิจัย และสามารถนําผลงานมาใชในการขอตําแหนงชํานาญการ

หนวยสนับสนุนการวิจัยและบริการวิชาการ คณะวิศวกรรมศาสตร

Page 82: แผนการบริหารทร ัพยากรบ ุคคลweb.eng.ubu.ac.th/~personnel/personneldata/HRD plan2550... · 2019-05-15 · แผนการบริหารทร

78

แผนบริหารทรัพยากรบุคคล คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี 2550-2560

9. การรกัษาไวและการเกษยีณ

Retain & Retire 9.1 บทนํา คณะวิศวกรรมศาสตร เล็งเห็นความสําคัญของทรัพยากรบุคคลที่จะเปนพลังขับเคลื่อนภารกิจของคณะใหบรรลเปาหมายได ดังนั้นจึงตระหนักดีถึงความจําเปนท่ีจะตองธํารงรักษาทรัพยากรบุคคลที่คาย่ิงเอาไวเพื่อพัฒนาไปสูความเติบโตในอนาคต พรอมไปกับกระบวนการพัฒนาทรัพยากรบุคคล โดยเฉพาะการกําหนดโครงการ หรือกิจกรรมการพัฒนาทรัพยากรบุคคล ท่ีคํานึงถึงผลสัมฤทธิ์ เพื่อใหบรรลุเปาหมายการพัฒนาทรัพยการกรบุคคลใหสอดคลองกับ แผนกลยุทธ และเปาหมายของคณะวิศวกรรมศาสตรมากย่ิงขึ้น โดยมีการดําเนินงานประกันคุณภาพ ควบคูไปในเวลาเดียวกันเปนกระบวนการที่เช่ือมโยงและตอเนื่อง 9.2 การดําเนินการ คณะวิศวกรรมศาสตรไดกําหนดนโยบายและมาตรการดานการธํางรงรักษาบุคลากรที่มีคุณภาพไวตั้งแตการกําหนดยุทธศาสตรของคณะวิศวกรรมศาสตรต้ังแตชวงป 2546-2548 ยุทธศาสตรท่ี 5. ดานการพัฒนาสถาบันและบุคลากร ในกลยุทธท่ี 3 การพัฒนาคุณภาพชีวิตของบุคลากร โดยมีเปาประสงคใหบุคลากรมีคุณภาพชีวิตดี เพื่อจูงใจใหเกิดความจงรักภักดีองคกร ท้ังนี้มีมาตรการที่สําคัญ เชน ใหมีคาตอบแทนที่เหมาะสมกับภาระงาน จัดสิ่งแวดลอมในหองทํางานใหเหมาะสมมีสิ่งแวดลอมใหมีความรมรื่นมากยิ่งขึ้น และตอมาไดปรับยุทธศาสตรใหมเปนยุทธศาสตรการพัฒนาคณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี ในระยะ 10 ป (2549-2560) โดยวางกลยุทธเกี่ยวกับการพัฒนาคุณภาพชีวิตของบุคลากรตามกรอบยุทธศาสตรของมหาวิทยาลัยอุบลราชธานี ป 2551-2560 ท่ีกําหนดยุทธศาสตรดานการธํารงรักษาและพัฒนาอาจารยและบุคลากรอยางตอเนื่องเพ่ือใหมีประสิทธิภาพและประสิทธิผลและมีความสุขในการทํางานเพื่อรองรับการปลี่ยนแปลงของสังคม ท้ังนี้มีมาตรการรองรับที่สําคัญๆ คือ 1 . จัดทํานโยบายและแผนการบริหารทรัพยากรบุคคลที่เปนรูปธรรม 2 . พัฒนาระบบและกลไกในการบริหารทรัพยากรบุคคลที่เปนการสงเสริมสมรรถนะในการทํางาน 3. ใหมีคาตอบแทนที่เหมาะสมกับภาระงาน 4. จัดสิ่งแวดลอมในหองทํางานและสรางบรรยากาศการทํางานใหเหมาะสมมากขึ้น 5. จัดสิ่งแวดลอมภายนอกอาคารใหมีความรมร่ืนมากย่ิงขึ้น 6. มีสถานที่จอดยานพาหนะที่เหมาะสม 7. พัฒนาระบบสวัสดิการและเสริมสรางสุขภาพที่ดี 8. สงเสริมและพัฒนาบุคลากรใหมีศักยภาพและสามารถมีโอกาสประสบความสําเร็จและกาวหนาในอาชีพอยางรวดเร็วตามสายงาน

9. จัดระบบประเมินความพึงพอใจของบุคลากร

Page 83: แผนการบริหารทร ัพยากรบ ุคคลweb.eng.ubu.ac.th/~personnel/personneldata/HRD plan2550... · 2019-05-15 · แผนการบริหารทร

79

แผนบริหารทรัพยากรบุคคล คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี 2550-2560

9.3 คุณภาพชีวิต นอกจากสิทธิประโยชนตางๆ ท่ีบุคลากรจะไดรับแลว คณะวิศวกรรมศาสตรมีความพยายามที่จะสรางคุณภาพชีวิตที่ดีใหแกบุคลากรเพื่อใหสามารถทํางานไดอยางมีความสุข เกิดความรักและภักดีตอองคกรผานวัฒนธรรมการทํางานที่เปนกันเอง ดวยความสามัคคีและชวยเหลอืเกือกูลกัน 1) จัดระบบสาธารณูปโภค ลานจอดรถ สนามกีฬา หองออกกําลังกาย ระบบอินเทอรเน็ต เครื่องมือและอุปกรณในการทํางาน 2) จัดหองทํางานและสภาพแวดลอมที่ดี เอื้อตอการทํางานและมีสุขอนามัย 3) ระบบรักษาความปลอดภัย 4) กิจกรรมสงเสริมคุณภาพชีวิตที่เปนรูปธรรม เชน โครงการเงินชวยเหลือคาทําศพกรณีบุคลากร หรือบุคคลใกลชิดในครอบครัวเสียชีวิต (บิดา มารดา บุตร สามี หรือภรรยา) โครงการคายสําหรับบุตรหลานบุคลากรในชวงปดภาคเรียน โครงการกีฬาและนันทนาการประจําป โครงการตรวจสุขภาพประจําป กองทุนสวัสดิการบุคลากรคณะวิศวกรรมศาสตร 9.4 การเกษียณอายุราชการและสิทธิประโยชนที่ขาราชการพึงไดเมื่อพนจากราชการโดยไมมีความผิด บําเหน็จบํานาญขาราชการ ไดแก บําเหน็จบํานาญปกติ ซึ่งจะไดรับ เมื่อออกจากราชการดวยเหตุปกติ เชน 1) ออกจากราชการเพราะทางราชการเลิกหรือยุบตําแหนงหรือมีคําสั่งใหออก โดยไมมีความผิดหรือออกตามบทบัญญัติในรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย หรือทหารออกจากกองหนุนเบี้ยหวัด(เหตุทดแทน) 2)ออกจากราชการเพราะปวยเจ็บทุพพลภาพที่แพทยทางราชการรับรองวาไมสามารถรับราชการในตําแหนงหนาที่ซึ่งปฏิบัติอยูตอไปได ( เหตุทุพพลภาพ) 3) มีอายุครบ 60 ปบริบูรณ (เกษียณอายุ) หรืออายุครบ 50 ปบริบูรณแลวลาออก ( เหตุสูงอายุ) 4) หรือกรณีมีเวลาราชการสําหรับคํานวณบําเหน็จบํานาญ ครบ 30 ปบริบูรณแลว ทางราชการสั่งใหออก หรือผูท่ีมีเวลาราชการครบ 25 ป บริบูรณแลว ลาออก (เหตุรับราชการนาน) ท้ัง 4 เหตุน้ี ถามีเวลาราชการ ไมถึง 10 ป ใหไดรับบําเหน็จ ถามีเวลา 10 ปขึ้นไป ใหรับบํานาญหรือจะขอรับบําเหน็จก็ได ท้ังนี้ผูท่ีมีเวลาราชการครบ 10 ป แลวลาออก ไมมีสิทธิ์ไดรับบําเหน็จบํานาญตามขอท่ีกลาวมาแลว แตใหมีสิทธิ์รับบําเหน็จ(ม.17) - ขาราชการที่ถูกสั่งใหออกจากราชการที่ถือเสมือนวาผูนั้นลาออกจากราชการ มีสิทธิรับบําเหน็จบํานาญ ดังนี้ -ถามีเวลาคํานวณบําเหน็จบํานาญ 25 ปขึ้นไป ใหไดรับบําเหน็จบํานาญเหตุรับราชการนาน -ถามีอายุครบ 50 ป และมีเวลาคํานวณบําเหน็จบํานาญ ครบ 10 ปขึ้นไป ใหมีสิทธิรับบําเหน็จเหตุสูงอายุ

Page 84: แผนการบริหารทร ัพยากรบ ุคคลweb.eng.ubu.ac.th/~personnel/personneldata/HRD plan2550... · 2019-05-15 · แผนการบริหารทร

80

แผนบริหารทรัพยากรบุคคล คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี 2550-2560

-ถาอายุไมครบ 50 ป มีเวลาคํานวณบําเหน็จบํานาญครบ 10 ป แตไมถึง 25 ป ใหมีสิทธิ์รับเฉพาะบําเหน็จ -ถามีเวลาคํานวณบําเหน็จบํานาญไมครบ 10 ป ไมมีสิทธิ์รับบําเหน็จบํานาญ บําเหน็จบํานาญพิเศษ จะไดรับ เมื่อ 1) ขาราชการ พลทหารกองประจําการ หรือบุคคลที่ทําหนาที่ทหารตามที่กระทรวงกลาโหมกําหนด แลว ไดรับอันตราย พิการ เจ็บปวยถึงทุพพลภาพ เพราะกระทําตามหนาที่ ใหไดรับบํานาญปกติ ท้ังบํานาญพิเศษดวย 2) ถาไดรับบําเหน็จบํานาญไปแลว หรือ พลทหารกองประจําการ หรือบุคคลที่ทําหนาที่ทหารตามที่กระทรวงกลาโหมกําหนด ไดออกจากราชการหรือพนหนาท่ีไปแลว ภายใน 3 ป ปรากฏชัดวาเกิดเจ็บปวยทุพพลภาพอันเนื่องมาจากสาเหตุในระหวางปฏิบัติหนาที่ ก็มีสิทธิ์ไดรับบํานาญพิเศษ ถาตายก็ใหทายาทไดรับบํานาญพิเศษ ท้ังนี้ ใหจายต้ังแตวันขอ ถารับบําเหน็จไปแลวก็ใหไดรับบํานาญพิเศษอยางเดียว 3) ผูไดรับอันตราย ตามขอ 1) แมจะยังไมมีสิทธิ์ไดรับบํานาญปกติก็ใหไดรับบํานาญปกติได 4) ผูไดรับอันตรายถาเสียชีวิตกอนไดรับบําเหน็จบํานาญพิเศษ ใหทายาทไดรับทั้งบําเหน็จตกทอดและบํานาญพิเศษดวย 5) ผูทําหนาที่ ตามขอ 1 สูญหายไป หรือเช่ือไดวามีอันตรายถึงตาย เมื่อพนกําหนด 2 เดือนนับแตวันสูญหายใหสันนิษฐานวาตายและใหทายาทไดรับบํานาญพิเศษ บําเหน็จตกทอด ทายาทจะไดรับเมื่อ 1) ขาราชการ ตายในระหวางรับราชการ ทายาท(ตองอายุไมเกิน 20 ป เวนแตกําลังศึกษาระดับอุดมศึกษาหรือเทียบเทา แตตองไมเกิน 26 ปหรือเวนแตเปนบุคคลพิการหรือทุพพลภาพ) จะไดรับบําเหน็จตกทอดเทากับเงินเดือนสุดทาย คูณเวลาราชการ 2) ตายในระหวางไดรับบํานาญปกติ หรือมีสิทธิ์ไดรับบํานาญปกติหรือรับบํานาญพิเศษ ทายาทมีสิทธิ์ไดรับบําเหน็จตกทอด เปนจํานวน 30 เทา ของบํานาญรายเดือน (ขอยกเวนเหมือน ขอ 1) 3) บําเหน็จตกทอดรายใด คํานวณไดยอดตํ่ากวา 3,000 บาท ใหจาย 3,000 บาท กองทุนบําเหน็จบํานาญขาราชการ สมาชิกที่พนสภาพดวยเหตุสูงอายุ,เหตุทดแทน,เหตุทุพพลภาพ และเหตุเสียชีวิต สมาชิกและทายาทจะไดรับยกเวนภาษีเงินไดบุคคลธรรมดาในสวนของเงินที่ไดรับจากกบข.ในปท่ีไดรับเงินนั้น

Page 85: แผนการบริหารทร ัพยากรบ ุคคลweb.eng.ubu.ac.th/~personnel/personneldata/HRD plan2550... · 2019-05-15 · แผนการบริหารทร

81

แผนบริหารทรัพยากรบุคคล คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี 2550-2560

10. บรรณานกุรม

Bibliography กิตติศักดิ์ สําเภาเงิน.การบริหารทรัพยากรบุคคลยุคใหมและการพัฒนาองคกร,เอกสารประกอบการอบรม,2550. คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี.แผนยุทธศาสตรคณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยอบุลราชธานี ป 2549-2550,2550. คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี.แผนยุทธศาสตรคณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยอบุลราชธานี ป 2549-2560,2551. คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี.คูมือประกันคุณภาพคณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยอบุลราชธานี ปการศึกษา 2549,2549. ประกาศทบวงมหาวิทยาลัย เร่ือง มาตรฐานหองสมุดสถาบันอุดมศึกษา พ.ศ. 2544 ธีระพงษ วงศบุญ.รายงานการสํารวจความตองการฝกอบรมของบุคลากรสายสนับสนุนคณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยอบุลราชธานี ป 2550-2560:ฝายผลิตและบริการเอกสาร คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัย อุบลราชธานี, 2551. ธีระพงษ วงศบุญ.คูมือการปฏิบัติงานดานการเจาหนาที่ คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี :ฝายผลิต และบริการเอกสาร คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี, 2548. ธีระพงษ วงศบุญ.คูมือมาตรฐานกําหนดตําแหนงขาราชการพลเรือนในมหาวิทยาลัย :ฝายผลิตและบริการเอกสาร คณะ วิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี, 2548. ธีระพงษ วงศบุญ.กาวสูตําแหนงทางวิชาการ พิมพคร้ังที่ 1.อุบลราชธานี : โรงพิมพมหาวิทยาลัยอุบลราชธานี, 2547. ธีระพงษ วงศบุญ.รายงานการวิเคราะหอัตรากําลัง คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยอบุลราชธานี :ฝายผลิต และ บริการเอกสาร คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี, 2548. มหาวิทยาลัยขอนแกน.หลักสูตรการพัฒนาบุคลากรมหาวิทยาลัยขอนแกน พ.ศ. 2550-2553,2550. มหาวิทยาลัยขอนแกน.แผนปฏิบัติการฝายทรัพยากรบุคคล มหาวิทยาลัยขอนแกนประจําปงบประมาณ 2551 (ตุลาคม 2550-กันยายน 2551),2550. มหาวิทยาลัยขอนแกน.คูมือระบบบริหารจัดการเพื่อการพัฒนาผลการปฏิบัติงาน:บุคลากรสายผูสอนมหาวิทยาลัยขอนแกน, 2550. มหาวิทยาลัยขอนแกน.คูมือระบบบริหารจัดการเพื่อการพัฒนาผลการปฏิบัติงาน:บุคลากรสายสนับสนุนมหาวิทยาลัยขอนแกน, 2550.

มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี.รายละเอียดตัวชี้วดั–KPI Template ประจําปงบประมาณ 2550 มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี, 2550.

Page 86: แผนการบริหารทร ัพยากรบ ุคคลweb.eng.ubu.ac.th/~personnel/personneldata/HRD plan2550... · 2019-05-15 · แผนการบริหารทร

82

แผนบริหารทรัพยากรบุคคล คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี 2550-2560

สํานักงานวิจัยและระบบสารสนเทศ สถาบันเพิ่มผลผลติแหงชาต ิรายงานการวิจัยเร่ืองการศึกษาหลักสูตรการพัฒนาบุคลากรในองคกรชั้นนํา 5 แหง

http://www.bangkokbiznews.com/2006/02/14/WW17_1701_news.php?newsid=11326 http://web.eng.ubu.ac.th/~seminar/research/ http://www.reg.ubu.ac.th http://www.ubu.ac.th/~ub-plan/plan.html http://web.ubu.ac.th/aboutubu/ubumap.html

Page 87: แผนการบริหารทร ัพยากรบ ุคคลweb.eng.ubu.ac.th/~personnel/personneldata/HRD plan2550... · 2019-05-15 · แผนการบริหารทร

83

แผนบริหารทรัพยากรบุคคล คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี 2550-2560

11. ภาคผนวก

Appendix

Page 88: แผนการบริหารทร ัพยากรบ ุคคลweb.eng.ubu.ac.th/~personnel/personneldata/HRD plan2550... · 2019-05-15 · แผนการบริหารทร

แผนปฏิบัติการการบริหารทรัพยากรบุคคล คณะวิศวกรรมศาสตร มอบ. ปการศึกษา 2550 ( ชวงเวลา 1 มิถนุายน 2551-31 พฤษภาคม 2552

วัตถุประสงค กลยุทธของคณะวิศวกรรมศาสตร

มอบ. กิจกรรม/โครงการ กรอบแผนกลยุทธ 2550-2560

ความกาวหนา/ผลงานเชิงประจกัษ ในรอบปที่ผานมา

งบประมาณ ป 2551 (บาท)

ผูรับผิดชอบ

2550

2551

2552

2553

2554

2555

2556

2557

2558

2559

2560

- 84 -

1.สรางเสริมระบบและกลไกในการบริหารทรพัยากรบุคคลเพือ่พัฒนาและธาํรงรักษาไวใหบคุลากรมีคุณภาพและประสิทธิภาพ

1.กลยุทธที่ 2.การปรับปรุงระบบการบริหารงาน

1.1.1โครงการจัดทาํแผนงานดานการบรหิารทรพัยากรบุคคลคณะวิศวกรรมศาสตร ป 2550-2560

/ / /

1.ดําเนนิการในป 2550 ปรับปรุงในป 2551 ,2555

งานการเจาหนาที่

1.2.2สอบทานปรับปรุงแผนงานดานการบริหารทรพัยากรบุคคลคณะวิศวกรรมศาสตร ป 2550-2560

/ / / / / / / / / /

งานการเจาหนาที่

1.1.3 ปรับเปลี่ยนองคกรใหเหมาะสมเนนภาระงานตามความสามารถ และกระจายอํานาจสูหนวยงานยอย

จัดหาบุคลากรเพิ่มในหนวยงานทีข่าด และปรับยายในหนวยงานที่เกิน

/ / / 1.จางนักวิชาการเงนิและบญัชี 1 ตําแหนง

ฝายบริหาร

Page 89: แผนการบริหารทร ัพยากรบ ุคคลweb.eng.ubu.ac.th/~personnel/personneldata/HRD plan2550... · 2019-05-15 · แผนการบริหารทร

แผนปฏิบัติการการบริหารทรัพยากรบุคคล คณะวิศวกรรมศาสตร มอบ. ปการศึกษา 2550 ( ชวงเวลา 1 มิถนุายน 2551-31 พฤษภาคม 2552

วัตถุประสงค กลยุทธของคณะวิศวกรรมศาสตร

มอบ. กิจกรรม/โครงการ กรอบแผนกลยุทธ 2550-2560

ความกาวหนา/ผลงานเชิงประจกัษ ในรอบปที่ผานมา

งบประมาณ ป 2551 (บาท)

ผูรับผิดชอบ

2550

2551

2552

2553

2554

2555

2556

2557

2558

2559

2560

- 85 -

1.1.4 สรางระบบฐานขอมูลเพื่อการตัดสนิใจในทุก ๆ ดาน

สํานักงานเลขานุการ+

งานบริการคอมพิวเตอร

โครงการพฒันาโปรแกรมรับสงเอกสาร-เวียนเอกสาร

/ / / / / / / / / / / 105,000

สอบทาน/ปรับปรุงระบบสารสนเทศดานเอกสาร

/ / / / / / / / / /

โครงการพฒันาโปรแกรมสั่งซื้อพัสด ุ

/

สอบทาน/ปรับปรุงระบบสารสนเทศดานพัสดุ

/ / / / / / / / / /

โครงการพฒันาโปรแกรมการเงนิ

/ / / / / / / / / / /

สอบทาน/ปรับปรุงระบบสารสนเทศดานการเงนิ

/ / / / / / / / / /

ฐานขอมูลบุคลากร / / / / / / / / / / /

1.กําลังดาํเนนิการและมีความตอเนื่องไปปตอไป

งานการเจาหนาที่

สอบทาน/ปรับปรุงระบบสารสนเทศดานบุคลากร

/ / / / / / / / / /

Page 90: แผนการบริหารทร ัพยากรบ ุคคลweb.eng.ubu.ac.th/~personnel/personneldata/HRD plan2550... · 2019-05-15 · แผนการบริหารทร

แผนปฏิบัติการการบริหารทรัพยากรบุคคล คณะวิศวกรรมศาสตร มอบ. ปการศึกษา 2550 ( ชวงเวลา 1 มิถนุายน 2551-31 พฤษภาคม 2552

วัตถุประสงค กลยุทธของคณะวิศวกรรมศาสตร

มอบ. กิจกรรม/โครงการ กรอบแผนกลยุทธ 2550-2560

ความกาวหนา/ผลงานเชิงประจกัษ ในรอบปที่ผานมา

งบประมาณ ป 2551 (บาท)

ผูรับผิดชอบ

2550

2551

2552

2553

2554

2555

2556

2557

2558

2559

2560

- 86 -

1.1.5 โครงการ/กิจกรรมสงเสริมคานยิมจงรกัภักดีตอองคกร

1.ดําเนนิการ สํานักงานเลขานุการ

โครงการคายเสริมความรูและทักษะสาํหรับบุตรหลายบุคลากรในชวงปดภาคเรียน

/ / / / / / / / / / /

10,000 สํานักงานเลขานุการ

โครงการทาํบญุปใหมและกีฬาภายในคณะวิศวกรรมศาสตร ประจาํป 2551

/ / / / / / / / / / /

100,000 สํานักงานเลขานุการ

1.1.6 สรางและพฒันาระบบประเมินคุณภาพงานในทุกระดับ โดยเฉพาะระดับการบริหาร

/ / / / / / / / / / /

- งานประกนัคุณภาพ

1.1.7 สรางระบบลงโทษ และระบบใหรางวัลที่เปนธรรมและเหมาะสม นอกเหนือจากระบบพิจารณาความดีความชอบ(เลื่อนขัน้หรือขึน้

/ / / / / / / / / /

-

Page 91: แผนการบริหารทร ัพยากรบ ุคคลweb.eng.ubu.ac.th/~personnel/personneldata/HRD plan2550... · 2019-05-15 · แผนการบริหารทร

แผนปฏิบัติการการบริหารทรัพยากรบุคคล คณะวิศวกรรมศาสตร มอบ. ปการศึกษา 2550 ( ชวงเวลา 1 มิถนุายน 2551-31 พฤษภาคม 2552

วัตถุประสงค กลยุทธของคณะวิศวกรรมศาสตร

มอบ. กิจกรรม/โครงการ กรอบแผนกลยุทธ 2550-2560

ความกาวหนา/ผลงานเชิงประจกัษ ในรอบปที่ผานมา

งบประมาณ ป 2551 (บาท)

ผูรับผิดชอบ

2550

2551

2552

2553

2554

2555

2556

2557

2558

2559

2560

- 87 -

เงินเดือน)

สอบทานและปรับปรุงการสรรหาบุคลากรเพือ่ประกาศเกียรติคุณและมอบรางวัลบุคลการดีเดน

/ / / / / / / / / / /

- สํานักงานเลขานุการ

2.สรางเสริมระบบและกลไกในการบริหารทรพัยากรบุคคลที่เปนการสงเสริมสมรรถนะในการปฏิบัติงาน

1.กลยุทธที่ 3.พฒันาคุณภาพชีวิตของบุคลากร

2.1.1 จัดทําเกณฑภาระงาน และบุคลากรทุกระดับอยางจริงจัง และแมนยาํเพื่อการตรวจสอบและการเพิ่มลด /ปรับเปลี่ยนบคุลากรใหเหมาะสม

-

การตรวจสอบภาระงานและวัดงานเพื่อการวิเคราะหอัตรากําลังทุกตําแหนงทุกหนวยงาน

/ / / / / / / / / / /

- ทุกหนวยงาน/ภาควิชา

2.1.2 กําหนดเกณฑการประเมินผูบังคับบัญชา โดยผูใตบังคับบัญชา

Page 92: แผนการบริหารทร ัพยากรบ ุคคลweb.eng.ubu.ac.th/~personnel/personneldata/HRD plan2550... · 2019-05-15 · แผนการบริหารทร

แผนปฏิบัติการการบริหารทรัพยากรบุคคล คณะวิศวกรรมศาสตร มอบ. ปการศึกษา 2550 ( ชวงเวลา 1 มิถนุายน 2551-31 พฤษภาคม 2552

วัตถุประสงค กลยุทธของคณะวิศวกรรมศาสตร

มอบ. กิจกรรม/โครงการ กรอบแผนกลยุทธ 2550-2560

ความกาวหนา/ผลงานเชิงประจกัษ ในรอบปที่ผานมา

งบประมาณ ป 2551 (บาท)

ผูรับผิดชอบ

2550

2551

2552

2553

2554

2555

2556

2557

2558

2559

2560

- 88 -

โครงการประเมนิบคุลากรสองทาง (Top down และ bottom up) โดยใหมีตัวชี้วัดประสิทธิภาพ ของบุคลากรแตละระดับอยางชัดเจน

/ / / / / / / / / / /

- งานประกนัคุณภาพ

2.1.3 สงเสริมดานจริยธรรมใหแกบุคลากร

โครงการจัดการบรรยายธรรมะ

/ / / / / / / / / / / - สํานักงานเลขานุการ

2.1.4 ตั้งคณะทาํงานประสานและสงเสริมการปฏิบัติงาน

แตงตั้งคณะกรรมการประสานการปฏิบัตงิานบุคลากรสายสนับสนนุ

/ / -

แตงตั้งรองหัวหนาภาควิชา /

6.จัดสรรและจัดหาทุนพฒันาบุคลากรทุกระดับ สรางมาตรการใหทุกคนพฒันาตนเอง

Page 93: แผนการบริหารทร ัพยากรบ ุคคลweb.eng.ubu.ac.th/~personnel/personneldata/HRD plan2550... · 2019-05-15 · แผนการบริหารทร

แผนปฏิบัติการการบริหารทรัพยากรบุคคล คณะวิศวกรรมศาสตร มอบ. ปการศึกษา 2550 ( ชวงเวลา 1 มิถนุายน 2551-31 พฤษภาคม 2552

วัตถุประสงค กลยุทธของคณะวิศวกรรมศาสตร

มอบ. กิจกรรม/โครงการ กรอบแผนกลยุทธ 2550-2560

ความกาวหนา/ผลงานเชิงประจกัษ ในรอบปที่ผานมา

งบประมาณ ป 2551 (บาท)

ผูรับผิดชอบ

2550

2551

2552

2553

2554

2555

2556

2557

2558

2559

2560

- 89 -

คาใชจายสําหรับการพฒันาบุคลากรสายอาจารย

/ / / / / / / / / / / 150,000

ภาควิชา

คาใชจายสําหรับการพฒันาบุคลากรสายสนับสนนุ

/ / / / / / / / / / / 150,000 สํานักงานเลขานุการ

3.สร างเสริ มระบบส วั ส ดิ ก า ร แ ล ะเสริมสรางสุขภาพที่ดีและสรางบรรยากาศที่ดีใหบุคลากรทํางานไดอยางมีประสิทธิ ภาพและอยู อย างมีความสุข

1.กลยุทธที่ 3.พฒันาคุณภาพชีวิตของบุคลากร

3.1.1 มีกิจกรรมตอนรับอาจารย บุคลากรใหมภายในคณะ โดยแนะนาํใหไดรูจักกนัอยางทั่วถึง

จัดใหบคุลากรใหมเขารวมการปฐมนิเทศบคุลากรใหมของ มหาวิทยาลัยอุบลราชธาน ี

/ / / / / / / / / / /

- งานการเจาหนาที่

3.1.2 จัดสิ่งแวดลอมในหองทํางานและสรางบรรยากาศการทาํงานใหเหมาะสมมากขึ้น

Page 94: แผนการบริหารทร ัพยากรบ ุคคลweb.eng.ubu.ac.th/~personnel/personneldata/HRD plan2550... · 2019-05-15 · แผนการบริหารทร

แผนปฏิบัติการการบริหารทรัพยากรบุคคล คณะวิศวกรรมศาสตร มอบ. ปการศึกษา 2550 ( ชวงเวลา 1 มิถนุายน 2551-31 พฤษภาคม 2552

วัตถุประสงค กลยุทธของคณะวิศวกรรมศาสตร

มอบ. กิจกรรม/โครงการ กรอบแผนกลยุทธ 2550-2560

ความกาวหนา/ผลงานเชิงประจกัษ ในรอบปที่ผานมา

งบประมาณ ป 2551 (บาท)

ผูรับผิดชอบ

2550

2551

2552

2553

2554

2555

2556

2557

2558

2559

2560

- 90 -

โครงการกิจกรรม 5 ส. / / / / / / / / / / / 10,000 สํานักงานเลขานุการ

โครงการจางเหมาทําความ

สะอาด / / / / / / / / / / /

1,089,200 สํานักงานเลขานุการ

3.1.3 จัดสิ่งแวดลอมรอบอาคารใหมีความรมรืน่มากยิ่งขึน้

ปรับปรุงภูมิทัศนรอบกลุมอาคารวิศวกรรมศาสตร

/ / / / / / / / / / -

ปรับปรุงสถานที่จอดยานพาหนะที่เหมาะสม

/ / / / / / / / / สํานักงานเลขานุการ

โครงการปรับปรุงระบบทอระบายน้ําและปอูิฐตัวหนอนบรเิวณที่จอดรถหนาอาคารเรยีนรวมคณะวิศวกรรมศาสตร

- สํานักงานเลขานุการ

โครงการปรับปรุงอาคารEN-1-2-3-4-5

/ / - ภาควิชา

3.1.4 พฒันาระบบสวัสดิการและเสริมสรางสุขภาพที่ด ี

Page 95: แผนการบริหารทร ัพยากรบ ุคคลweb.eng.ubu.ac.th/~personnel/personneldata/HRD plan2550... · 2019-05-15 · แผนการบริหารทร

แผนปฏิบัติการการบริหารทรัพยากรบุคคล คณะวิศวกรรมศาสตร มอบ. ปการศึกษา 2550 ( ชวงเวลา 1 มิถนุายน 2551-31 พฤษภาคม 2552

วัตถุประสงค กลยุทธของคณะวิศวกรรมศาสตร

มอบ. กิจกรรม/โครงการ กรอบแผนกลยุทธ 2550-2560

ความกาวหนา/ผลงานเชิงประจกัษ ในรอบปที่ผานมา

งบประมาณ ป 2551 (บาท)

ผูรับผิดชอบ

2550

2551

2552

2553

2554

2555

2556

2557

2558

2559

2560

- 91 -

จัดทําหองออกกําลงักายในอาคารสาํนักงาน

/ - สํานักงานเลขานุการ

โครงการตรวจสุขภาพบุคลากรประจาํป 2550

/ / / / / / / / / / / 20,000 สํานักงานเลขานุการ

3.1.5 ปรับปรุงและพฒันาพืน้ทีใ่ชสอยใหเหมาะสม

ปรับพืน้ที่ใชสอยในสํานักงานเลขานุการ

/ / - สํานักงานเลขานุการ

3.1.6 สงเสริมใหบุคลากรทุกคนมีสวนรวมในกจิกรรมหลักของคณะดวยความเต็มใจ และรักองคกร

/ / / / / / / / / / /

ฝายบริหาร

โครงการประเพณีสงกรานตและรดน้าํดาํหัว

/ / -

3.1.7 ผูบริหารจัดกิจกรรมเพือ่ชี้ใหเหน็ขอแตกตาง และสรางระบบรองรับการออกนอกระบบ

/ / / /

ฝายบริหาร

3.1.8 ปรับคาตอบแทนที่

เหมาะสมกับภาระงาน

Page 96: แผนการบริหารทร ัพยากรบ ุคคลweb.eng.ubu.ac.th/~personnel/personneldata/HRD plan2550... · 2019-05-15 · แผนการบริหารทร

แผนปฏิบัติการการบริหารทรัพยากรบุคคล คณะวิศวกรรมศาสตร มอบ. ปการศึกษา 2550 ( ชวงเวลา 1 มิถนุายน 2551-31 พฤษภาคม 2552

วัตถุประสงค กลยุทธของคณะวิศวกรรมศาสตร

มอบ. กิจกรรม/โครงการ กรอบแผนกลยุทธ 2550-2560

ความกาวหนา/ผลงานเชิงประจกัษ ในรอบปที่ผานมา

งบประมาณ ป 2551 (บาท)

ผูรับผิดชอบ

2550

2551

2552

2553

2554

2555

2556

2557

2558

2559

2560

- 92 -

ปรับเงนิเดอืนและคาจางพนักงานเงนิรายไดและลูกจางชั่วคราว รอยละ 4 ตามมติ ครม.

/ /

งานการเจาหนาที่

จายเงนิชวยเหลือคาครองชีพชั่วคราวพนักงานเงนิรายไดและลูกจางชั่วคราว รอยละ 4 ตามมติ ครม.

/

/

งานการเจาหนาที่

3.1.9 โครงการสัมมนาบุคลากรสายสนับสนนุประจาํป

/ / / / / / / / / / / 100,000 สํานักงานเลขานุการ

4.สรางเสริมระบบสงเสริมสนับสนนุบุคลากรที่มีศักยภาพสูงใหมีโอกาสประสบความสาํเร็จและกาวหนาในอาชพีอยางรวดเร็วตาม

1.กลยุทธที่ 4. พฒันาความรูของบุคลากร

4.1.1โครงการจัดอบรมเพื่อความรูขัน้พืน้ฐานในการทํางาน

/ / / / / / / / / /

งานการเจาหนาที่

Page 97: แผนการบริหารทร ัพยากรบ ุคคลweb.eng.ubu.ac.th/~personnel/personneldata/HRD plan2550... · 2019-05-15 · แผนการบริหารทร

แผนปฏิบัติการการบริหารทรัพยากรบุคคล คณะวิศวกรรมศาสตร มอบ. ปการศึกษา 2550 ( ชวงเวลา 1 มิถนุายน 2551-31 พฤษภาคม 2552

วัตถุประสงค กลยุทธของคณะวิศวกรรมศาสตร

มอบ. กิจกรรม/โครงการ กรอบแผนกลยุทธ 2550-2560

ความกาวหนา/ผลงานเชิงประจกัษ ในรอบปที่ผานมา

งบประมาณ ป 2551 (บาท)

ผูรับผิดชอบ

2550

2551

2552

2553

2554

2555

2556

2557

2558

2559

2560

- 93 -

สายงาน

โครงการที่ประชุมเพื่อการถายทอดองคความรูและประสบการณทาํงานในระหวางบุคลากรสายสนับสนนุ

/

10,000 สํานักงานเลขานุการ

4.1.2 กิจกรรมพฒันาความรูและทักษะในวิชาชพีของบุคลากร

งานการเจาหนาที่

โครงการอบรมทักษะการพูดในที่ชุมชน

/ งานการเจาหนาที่

4.1.3 โครงการจัดอบรมความรูในการพฒันางานและการประยุกต

/ / / / / / / / / / งานการเจาหนาที่

4.1.4 โครงการจัดอบรมความรูเกี่ยวกับการจัดกระบวนการเรยีนรู

/ / / / / / / / / / งานการเจาหนาที่

4.1.5 โครงการจัดอบรม/สัมมนาความรูเกี่ยวกับการ

/ / / / / / / / / / งานการเจาหนาที่

Page 98: แผนการบริหารทร ัพยากรบ ุคคลweb.eng.ubu.ac.th/~personnel/personneldata/HRD plan2550... · 2019-05-15 · แผนการบริหารทร

แผนปฏิบัติการการบริหารทรัพยากรบุคคล คณะวิศวกรรมศาสตร มอบ. ปการศึกษา 2550 ( ชวงเวลา 1 มิถนุายน 2551-31 พฤษภาคม 2552

วัตถุประสงค กลยุทธของคณะวิศวกรรมศาสตร

มอบ. กิจกรรม/โครงการ กรอบแผนกลยุทธ 2550-2560

ความกาวหนา/ผลงานเชิงประจกัษ ในรอบปที่ผานมา

งบประมาณ ป 2551 (บาท)

ผูรับผิดชอบ

2550

2551

2552

2553

2554

2555

2556

2557

2558

2559

2560

- 94 -

ประกนัคุณภาพ

4.1.6 โครงการจัดอบรมหลักสูตรทางดานคอมพิวเตอรและสารสนเทศ

โครงการจัดอบรมคอมพิวเตอรในสาํนักงาน

/ งานบริการคอมพิวเตอร

ฯ จัด KM เรื่องการใช Excel / / / / / / / / / / / สํานักงานเลขานุการ

จัด KM เรื่องการใชโปรแกรมรับสงเอกสาร

สํานักงานเลขานุการ

จัด KM เรื่องการใชจัด KM เรื่องการใชโปรแกรมสั่งซื้อพัสด ุ

/ / / / / / / / / / / สํานักงานเลขานุการ

4.1.7 โครงการจัดอบรมความรูดานภาษาอังกฤษ

/ / / / / / / / / /

4.1.8 โครงการศึกษาดูงานที่หนวยงาน/สถาบนัตางๆ

/ / 60,000 สํานักงานเลขานุการ

4.1.9 โครงการสงเสริมการเขารวมอบรม/สัมมนา ที่จัดโดยหนวยงาน/สถาบนัภายนอก

/ / / / / / / / / / สํานักงานเลขานุการ/

ภาควิชา

Page 99: แผนการบริหารทร ัพยากรบ ุคคลweb.eng.ubu.ac.th/~personnel/personneldata/HRD plan2550... · 2019-05-15 · แผนการบริหารทร

แผนปฏิบัติการการบริหารทรัพยากรบุคคล คณะวิศวกรรมศาสตร มอบ. ปการศึกษา 2550 ( ชวงเวลา 1 มิถนุายน 2551-31 พฤษภาคม 2552

วัตถุประสงค กลยุทธของคณะวิศวกรรมศาสตร

มอบ. กิจกรรม/โครงการ กรอบแผนกลยุทธ 2550-2560

ความกาวหนา/ผลงานเชิงประจกัษ ในรอบปที่ผานมา

งบประมาณ ป 2551 (บาท)

ผูรับผิดชอบ

2550

2551

2552

2553

2554

2555

2556

2557

2558

2559

2560

- 95 -

4.1.10 กิจกรรมจัดการความรูเกี่ยวกับระบบเสนทางความกาวหนา

การขอตาํแหนงทางวิชาการ- การขอตําแหนงชํานาญการ- การเปลี่ยนตําแหนง การปรับสภาพลูกจางเปนพนักงาน

/ / / / / / / / / /

งานการเจาหนาที่

5.สรางระบบการประเมนิความพึงพอใจของบุคลากรทุกระดับ

1.กลยุทธที่ 2.การปรับปรุงระบบการบริหารงาน

5.1.1 ประเมนิความสําเร็จในการบรรลุแผนการพฒันาบุคลากรทุกกลุม ทั้งแผนระยะสั้น ระยะปานกลางและระยะยาว

/ / / / / / / / / / /

งานการเจาหนาที่

5.1.2 จัดประเมนิความพึงพอใจของบุคลากรทุกระดับตอองคกร

/ / / / / / / / / / / งานประกนัคุณภาพ

การประเมนิความพึงพอใจในการใชบริการหนวยงานตางๆโดยผูใชบริการ

/ / / / / / / / / / / สํานักงานเลขานุการ

Page 100: แผนการบริหารทร ัพยากรบ ุคคลweb.eng.ubu.ac.th/~personnel/personneldata/HRD plan2550... · 2019-05-15 · แผนการบริหารทร

แผนปฏิบัติการการบริหารทรัพยากรบุคคล คณะวิศวกรรมศาสตร มอบ. ปการศึกษา 2550 ( ชวงเวลา 1 มิถนุายน 2551-31 พฤษภาคม 2552

วัตถุประสงค กลยุทธของคณะวิศวกรรมศาสตร

มอบ. กิจกรรม/โครงการ กรอบแผนกลยุทธ 2550-2560

ความกาวหนา/ผลงานเชิงประจกัษ ในรอบปที่ผานมา

งบประมาณ ป 2551 (บาท)

ผูรับผิดชอบ

2550

2551

2552

2553

2554

2555

2556

2557

2558

2559

2560

- 96 -

5.1.3 สรางงานวิจยัสถาบันโดยมีผูรับผิดชอบหลัก

/ / / / / / / / /

6.นาํผลการประเมนิความพึงพอใจเสนอผูบริหารระดับสูงและมแีนวทางในการปรับปรุงพฒันาเพื่อใหดขีึ้น

1.กลยุทธที่ 2.การปรับปรุงระบบการบริหารงาน

6.1.1 จัดทํารายงานสรุปประเมินผลการดาํเนนิงานและขอเสนอเพื่อปรับปรุง

/ / / / / / / / / / /

งานประกนัคุณภาพ