อเนก...

18
เชิดชูเกียรติศิลปินพื้นบ้านอีสาน ประจาป2554 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ทรงคุณ จันทจร และคณะ ได้รับทุนอุดหนุนโครงการ จากโครงการทานุบารุงศิลปวัฒนธรรม งบประมาณเงินแผ่นดิน ประจาปี 2554 มหาวิทยาลัยมหาสารคาม

Transcript of อเนก...

Page 1: อเนก นาคะบุตรkpi.msu.ac.th/upload/ag_tor_ref_byqty/ag_59_in_7.1.2_3_50(2555).pdf · จิตต่อศิลปินแห่งชาติ และได้ประชุมสัมมนาทางวิชาการเกี่ยวกับศิลปวัฒนธรรม

เชิดชูเกียรติศิลปินพื้นบ้านอีสาน ประจ าปี 2554

ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ทรงคุณ จันทจร และคณะ

ได้รับทุนอุดหนุนโครงการ จากโครงการท านุบ ารุงศิลปวัฒนธรรม

งบประมาณเงินแผ่นดิน ประจ าปี 2554 มหาวิทยาลัยมหาสารคาม

Page 2: อเนก นาคะบุตรkpi.msu.ac.th/upload/ag_tor_ref_byqty/ag_59_in_7.1.2_3_50(2555).pdf · จิตต่อศิลปินแห่งชาติ และได้ประชุมสัมมนาทางวิชาการเกี่ยวกับศิลปวัฒนธรรม

เชิดชูเกียรติศิลปินพื้นบ้านอีสาน

ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ทรงคุณ จันทจร และคณะ

ได้รับทุนอุดหนุนโครงการ จากโครงการท านุบ ารุงศิลปวัฒนธรรม

งบประมาณเงินแผ่นดิน ประจ าปี 2554 มหาวิทยาลัยมหาสารคาม

Page 3: อเนก นาคะบุตรkpi.msu.ac.th/upload/ag_tor_ref_byqty/ag_59_in_7.1.2_3_50(2555).pdf · จิตต่อศิลปินแห่งชาติ และได้ประชุมสัมมนาทางวิชาการเกี่ยวกับศิลปวัฒนธรรม

สารบัญ เรื่อง หน้า บทที่ 1 บทน า 1 บทที ่2 วิธีการด าเนินงาน 4 บทที่ 3 ผลการด าเนินงาน 7 บทที่ 4 การบูรณาการ การเกิดประโยชน์ และสร้างคุณค่าต่อชุมชนหรือสังคม 12 บทที่ 5 สรุปและอภิปรายผล 14

Page 4: อเนก นาคะบุตรkpi.msu.ac.th/upload/ag_tor_ref_byqty/ag_59_in_7.1.2_3_50(2555).pdf · จิตต่อศิลปินแห่งชาติ และได้ประชุมสัมมนาทางวิชาการเกี่ยวกับศิลปวัฒนธรรม

บทที่ 1

บทน า หลักการและเหตุผล ด้วยคณะรัฐมนตรีได้มีมติเม่ือวันที่ 26 กุมภาพันธ์ พ.ศ.2528 ก าหนดให้วันที่ 24 กุมภาพันธ์ของทุกปีเป็นวันศิลปินแห่งชาติ เนื่องจากวันดังกล่าวเป็นวันคล้ายวันพระราชสมภพของพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย รัชกาลที่ 2 ซึ่งถือเป็น อัครศิลปิน ของประเทศไทยในช่วงต้นกรุงรัตนโกสินทร์ ดังนั้นทางรัฐบาลไทยจึงได้ก าหนดให้วันที่ 24 กุมภาพันธ์ของทุกปี เป็นวันศิลปินแห่งชาติ เพื่อเป็นการร าลึกถึงคุณูปการของพระองค์ท่านที่มีพระมหากรุณาธิคุณต่อวงการศิลปวัฒนธรรมไทยอย่างล้นเหลือจนเป็นมรดกสืบทอดตั้งแต่อดีตมาจนถึงปัจจุบัน และองค์พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ภูมิพลอดุลยเดช รัชกาลปัจจุบัน พระมหากษัตริย์ผู้ทรงพระคุณอันล้ าเลิศต่อการอนุรักษ์ ส่งเสริม ท านุบ ารุง และเผยแพร่ศิลปวัฒนธรรมของชาติอย่างสูงยิ่ง พระองค์ท่านได้ทรงตรากตร าและวิริยะอุตสาหะ ส่งเสริมท านุบ ารุงให้ศิลปวัฒนธรรมของชาติไทยได้ด ารงคงเอกลักษณ์ และสืบทอด เผยแพร่ให้ประจักษ์แก่นานาอารยประเทศเลื่องลือไปทั่วทุกสารทิศจนถึงปัจจุบัน เพ่ือเป็นการร าลึกถึงพระมหากษัตริย์ไทยสองพระองค์ท่ีมีพระราชกรณียกิจที่มีคุณูปการอย่างสูงล้นต่อศิลปวัฒนธรรมไทย เพื่อเจริญรอยตามเบื้องพระยุคลบาททางด้านศิลปวัฒนธรรม และเพ่ือเป็นการแสดงมุทิตาจิตต่อศิลปินแห่งชาติ ศิลปินแห่งชาติภาคอีสาน ศิลปินที่มีชื่อเสียงที่ได้รังสรรค์ผลงานด้านศิลปะแขนงต่างๆ ถึงปัจจุบันจนปรากฏ สถาบันวิจัยศิลปะและวัฒนธรรมอีสาน มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ได้ตระหนักถึงความส าคัญในคุณค่าของศิลปะและวัฒนธรรม จึงเห็นสมควรจัดกิจกรรมเพ่ือเป็นการสร้างจิตส านึกท่ีดีให้แก่ประชาชน นิสิต นักศึกษา ต่อศิลปะและวัฒนธรรม เพ่ือเป็นการเผยแพร่ประชาสัมพันธ์ให้ประชาชนได้รู้จักกับศิลปินแห่งชาติ ที่มีถ่ินพ านักในภาคอีสาน ศิลปินที่มีชื่อเสียง ตลอดจนเป็นการแสดงมุทิตาจิตต่อศิลปินดังกล่าว ที่มีคุณูปการต่อการด ารงอนุรักษ์ศิลปะและวัฒนธรรมให้คงอยู่สืบต่อมาจนถึงปัจจุบัน ซึ่งโครงการดังกล่าวจัดขึ้นในระหว่างวันที่ 1-2 มิถุนายน 2554 ณ สถาบันวิจัยศิลปะและวัฒนธรรมอีสาน วัตถุประสงค์ 1. เพ่ือเป็นการร าลึกและเทิดพระเกียรติแด่องค์พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย รัชกาลที่ 2 อัครศิลปิน ยุคต้นกรุงรัตนโกสินทร์ที่มีคุณูปการต่อวงการศิลปะและวัฒนธรรมของชาติไทย 2. เพ่ือน าเหล่าบรรดาศิลปินแห่งชาติที่มีชื่อเสียงของชาวอีสานให้ประชาชน นักวิชาการ นิสิต นักศึกษา คณาจารย์ได้มีโอกาสพบปะแลกเปลี่ยนความรู้ในทางศิลปะและวัฒนธรรม และให้ศิลปินแห่งชาติ ศิลปินที่มีชื่อเสียงที่ได้รังสรรค์ผลงานด้านศิลปะแขนงต่าง ๆ ได้บรรยายพิเศษทางวิชาการ

Page 5: อเนก นาคะบุตรkpi.msu.ac.th/upload/ag_tor_ref_byqty/ag_59_in_7.1.2_3_50(2555).pdf · จิตต่อศิลปินแห่งชาติ และได้ประชุมสัมมนาทางวิชาการเกี่ยวกับศิลปวัฒนธรรม

3. เพ่ือเป็นการแสดงมุทิตาจิตต่อศิลปินแห่งชาติ ศิลปินพื้นบ้านอีสานที่มีคุณูปการต่อวงการศิลปะและวัฒนธรรม

4. เพ่ือให้ประธานสภาวัฒนธรรมจังหวัดภาคตะวันออกเฉียงเหนือทั้ง 20 จังหวัด ได้แสดงมุทิตาจิตต่อศิลปินแห่งชาติ และได้ประชุมสัมมนาทางวิชาการเก่ียวกับศิลปวัฒนธรรม

5. เพ่ือเป็นการสร้างเครือข่ายศิลปินพื้นบ้านอีสาน และสืบทอดภูมิปัญญาท้องถิ่น อันน าไปสู่การพัฒนาให้เกิดมูลค่าทางเศรษฐกิจในชุมชนอีสาน ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ

1. ประชาชน นิสิต นักศึกษา เกิดจิตส านึกท่ีดีและตระหนักเห็นคุณค่าความส าคัญต่อศิลปะและวัฒนธรรมของชาติและท้องถิ่น 2. เป็นการท านุบ ารุง ส่งเสริม เผยแพร่ และอนุรักษ์ต่อกิจการศิลปะและวัฒนธรรมไทย และวัฒนธรรมท้องถิ่น 3. เกิดความรู้สึกหวงแหนในศิลปะและวัฒนธรรมของชาติ 4. เกิดผลดีต่อมหาวิทยาลัยและประเทศชาติ ลักษณะของข้อมูลโครงการ [ / ] Good Story (เรื่องราวดีๆ เท่าที่ทราบ) : ข้อมูลที่ภาคภูมิใจและยินดีเผยแพร่สู่สาธารณะ [ ] Good Practice (แนวปฏิบัติที่ด)ี : ข้อมูลที่ได้รับรางวัล หรือได้รับการยกย่องจากสถาบันต่างๆ ทั้งจากในประเทศ และ/หรือ ต่างประเทศ ค าค้น Pre-University ........................................................................................................................ In-University [ / ] Art and culture (ART&CUL) [ ] Campus life (CAMP) [ ] Community (COMM) [ ] Curriculum (CURR) [ ] Energy (ENGY) [ ] Environment (ENVI) [ ] Governance & Admin (UG&A) [ ] Health (HLTH) [ ] Knowledge Acquiring (KACQ)1

Page 6: อเนก นาคะบุตรkpi.msu.ac.th/upload/ag_tor_ref_byqty/ag_59_in_7.1.2_3_50(2555).pdf · จิตต่อศิลปินแห่งชาติ และได้ประชุมสัมมนาทางวิชาการเกี่ยวกับศิลปวัฒนธรรม

[ ] Knowledge Sharing (Learning Service) (KSHA) [ ] Research (RESH) [ ] Scholarship (SCHP) [ ] School (SCHL) [ ] Student Activity (STDA) [ ] Technology (TECN) [ ] Volunteer (VOLT) [ ] Others (OTHR) Post -University ............................................................................................................................... สรุปข้อมูล

ด้วยความตระหนักในคุณค่าความส าคัญของงานด้านท านุบ ารุงศิลปวัฒนธรรมท้องถิ่นอีสาน ความมุ่งม่ันสร้างสรรค์และปณิธานที่ตั้งไว้ สถาบันวิจัยศิลปะและวัฒนธรรมอีสาน จะด าเนินกิจกรรมงานอนุรักษ์ ส่งเสริม ท านุบ ารุง และเผยแพร่งานด้านศิลปวัฒนธรรมของท้องถิ่นอีสาน เพื่อให้งานศิลปะและวัฒนธรรมของชาติไทยได้ด ารงคงเอกลักษณ์และสืบทอดให้เป็นที่ประจักษ์แก่บรรพชนสืบไป Website : www.rinac.msu.ac.th

Page 7: อเนก นาคะบุตรkpi.msu.ac.th/upload/ag_tor_ref_byqty/ag_59_in_7.1.2_3_50(2555).pdf · จิตต่อศิลปินแห่งชาติ และได้ประชุมสัมมนาทางวิชาการเกี่ยวกับศิลปวัฒนธรรม

บทที่ 2

วิธีด าเนินงาน การจัดงานเชิดชูเกียรติศิลปินพื้นบ้านอีสาน ประจ าปี 2554 ในครั้งนี้ มีรายละเอียด วิธีด าเนินงาน ดังนี้ กลุ่มเป้าหมายหรือผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง (Stakeholder)

1. ศิลปินพื้นบ้านอีสานที่ได้รับการเชิดชูเกียรติ 2. คณาจารย์มหาวิทยาลัยมหาสารคาม 3. นักเรียนจากสถานศึกษาต่างๆ ทั้งในในจังหวัดมหาสารคาม และจังหวัดอ่ืนๆ 4. นิสิต (ศิษย์เก่า และศิษย์ปัจจุบัน) 5. นักศึกษาจากสถานศึกษาต่างๆ ทั้งในในจังหวัดมหาสารคาม และจังหวัดอ่ืนๆ 6. ประชาชนทั้งในในจังหวัดมหาสารคาม และจังหวัดอ่ืนๆ

ระยะเวลาของกิจกรรม

ระหว่างวันที่ 1-2 มิถุนายน 2554

สถานที่ด าเนินงาน สถาบันวิจัยศิลปะและวัฒนธรรมอีสาน มหาวิทยาลัยมหาสารคาม แหล่งทุน/ความช่วยเหลืออ่ืนๆ ในการด าเนินโครงการ โครงการนี้ได้รับงบประมาณสนับสนุนจากงบประมาณเงินแผ่นดิน ประจ าปี 2554 โครงการท านุบ ารุงศิลปวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ขั้นตอนการประเมินผลงาน ขั้นตอนการประเมินผลโครงการได้ด าเนินการ 2 ลักษณะ คือ

1. ประเมินความพึงพอใจต่อการจัดโครงการเชิดชูเกียรติศิลปินพื้นบ้านอีสาน 2. รายงานผลและสรุปผลการจัดงานเชิดชูเกียรติศิลปินพื้นบ้านอีสาน

Page 8: อเนก นาคะบุตรkpi.msu.ac.th/upload/ag_tor_ref_byqty/ag_59_in_7.1.2_3_50(2555).pdf · จิตต่อศิลปินแห่งชาติ และได้ประชุมสัมมนาทางวิชาการเกี่ยวกับศิลปวัฒนธรรม

โดยใช้เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล เป็นแบบสอบถามประเมินความพึงพอใจต่อการจัดงานเชิดชูเกียรติศิลปินพื้นบ้านอีสาน ประจ าปี 2554 จากผู้เข้าร่วมงานฯ ณ สถาบันวิจัยศิลปะและวัฒนธรรมอีสาน แบ่งออกเป็น 4 ตอน คือ ตอนที่ 1 สถานภาพของผู้ตอบแบบสอบถาม ประกอบด้วย เพศ อายุ การศึกษา และอาชีพ ตอนที่ 2 การประเมินความพึงพอใจต่อการจัดงานเชิดชูเกียรติศิลปินพื้นบ้านอีสาน ประจ าปี 2554 ตอนที่ 3 ข้อคิดเห็นต่อการจัดงานเชิดชูเกียรติศิลปินพื้นบ้านอี สาน ประจ าปี 2554 เป็นลักษณะค าถามปลายเปิด ให้ผู้ตอบเขียนตอบได้อย่างอิสระตามความคิดเห็นของตนเองที่มีต่อการจัดงาน ประกอบด้วย จุดเด่น ข้อควรปรับปรุง และข้อเสนอแนะ เก็บรวบรวมข้อมูลโดยขอความร่วมมือและขอความอนุเคราะห์ผู้มาร่วมงานเชิดชูเกียรติศิลปินพื้นบ้าน อีสาน ประจ าปี 2554 ณ สถาบันวิจัยศิลปะและวัฒนธรรมอีสาน กรอกข้อมูลในแบบสอบถาม โดยการเลือกสุ่มแบบบังเอิญทั่วบริเวณงาน การวิเคราะห์ข้อมูล ข้อมูลที่ได้จากแบบสอบถามน ามาด าเนินการตามขั้นตอนดังนี ้ 1. ตรวจสอบความสมบูรณ์และความถูกต้องของแบบประเมิน แล้วด าเนิ นการประมวลผลข้อมูลทั้งหมด ด้วยโปรแกรม Microsoft Excel 2. ข้อมูลตอนที่ 1 น ามาวิเคราะห์ข้อมูลแล้วหาค่าร้อยละ ในรูปของตาราง 3. ข้อมูลตอนที่ 2 น ามาวิเคราะห์ข้อมูลด้วยการหาค่าร้อยละความพึงพอใจของผู้เข้าร่วม

งานฯ 4. ข้อมูลตอนที่ 3 น ามาวิเคราะห์ข้อความและสรุปน าเสนอลักษณะเชิงคุณภาพ

ขั้นตอนการด าเนินงาน มีข้ันตอนการด าเนินงาน ดังนี ้ 1. ประชุมเตรียมการ 2. ส่งหนังสือและประสานงานไปยังหน่วยงานที่เกี่ยวข้องเพ่ือให้พิจารณาเสนอชื่อ ผู้สมควรได้รับการเชิดชูเกียรติเป็นศิลปินพ้ืนบ้านอีสานทุกสาขา 3. ประชุมพิจารณาคัดเลือกศิลปินพื้นบ้านอีสานทุกสาขา 4. ประกาศผลการคัดเลือกศิลปินพื้นบ้านอีสาน

5. น าข้อมูลศิลปินพ้ืนบ้านจัดพิมพ์เป็นหนังสือเชิดชูเกียรติ และจัดนิทรรศการ เชิดชูเกียรต ิ

6. ประชุมและประสานงานกับทุกฝ่ายที่เก่ียวข้องเพ่ือเตรียมความพ ร้อมในการจัดงานเชิดชูเกียรติศิลปินพื้นบ้านอีสาน

Page 9: อเนก นาคะบุตรkpi.msu.ac.th/upload/ag_tor_ref_byqty/ag_59_in_7.1.2_3_50(2555).pdf · จิตต่อศิลปินแห่งชาติ และได้ประชุมสัมมนาทางวิชาการเกี่ยวกับศิลปวัฒนธรรม

การด าเนินกิจกรรมโครงการ กิจกรรมที่ทางสถาบันวิจัยศิลปะและวัฒนธรรมอีสานด าเนินการในงานเชิดชูเกียรติศิลปินพ้ืนบ้านอีสาน ประจ าปี 2554 มีดังนี ้ 1. จัดพิธีถวายราชสักการะอัครศิลปินสองพระองค์ท่ีมีพระราชกรณียกิจที่มีคุณูปการอย่างสูงล้นต่อศิลปวัฒนธรรมไทย คือ พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย รัชกาลที่ 2 แห่งราชวงศ์จักรี และองค์พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ภูมิพลอดุลยเดช รัชกาลปัจจุบัน 2. จัดนิทรรศการประวัติและผลงานของศิลปินพื้นบ้านอีสาน สาขาต่าง ๆ 3. เชิดชูเกียรติศิลปินพื้นบ้านอีสาน

Page 10: อเนก นาคะบุตรkpi.msu.ac.th/upload/ag_tor_ref_byqty/ag_59_in_7.1.2_3_50(2555).pdf · จิตต่อศิลปินแห่งชาติ และได้ประชุมสัมมนาทางวิชาการเกี่ยวกับศิลปวัฒนธรรม

บทที่ 3

ผลการด าเนินงาน

การจัดงานเชิดชูเกียรติศิลปินพื้นบ้านอีสาน ประจ าปี 2554 ในครั้งนี้มีผลการด าเนินงาน ดังนี ้ ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง ประชากรคือผู้ที่มาร่วมงานเชิดชูเกียรติศิลปินพื้นบ้า นอีสาน ประจ าปี 2554 ณ สถาบันวิจัยศิลปะและวัฒนธรรมอีสาน ระหว่างวันที่ 1-2 มิถุนายน 2554 และเลือกกลุ่มตัวอย่างแบบบังเอิญ (Accidental Sampling) (บุญชม ศรีสะอาด . 2545 : 44) เพ่ือขอความร่วมมือตอบแบบสอบถาม จากแบบสอบถามที่แจกทั้งหมด 150 ชุด สามารถเก็บคืนได้ จ านวน 144 ชุด คิดเป็นร้อยละ 96 ของแบบสอบถามท้ังหมด

เครื่องมือที่ใช้เก็บรวบรวมข้อมูล เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล เป็นแบบสอบถามประเมินความพึงพอใจต่อการจัดงานเชิดชูเกียรติศิลปินพื้นบ้านอีสาน ประจ าปี 2554 จากผู้เข้าร่วมงานฯ ณ สถาบันวิจัยศิลปะและวัฒนธรรมอีสาน ระหว่างวันที่ 1-2 มิถุนายน 2554 โดยแบ่งออกเป็น 4 ตอน คือ ตอนที่ 1 สถานภาพของผู้ตอบแบบสอบถาม ประกอบด้วย เพศ อายุ การศึกษา และอาชีพ ตอนที่ 2 การประเมินความพึงพอใจต่อการจัดงานเชิดชูเกียรติศิ ลปินพื้นบ้านอีสาน ประจ าปี 2554 ตอนที่ 3 ข้อคิดเห็นต่อการจัดงานเชิดชูเกียรติศิลปินพื้นบ้านอีสาน ประจ าปี 2554 เป็นลักษณะค าถามปลายเปิด ให้ผู้ตอบเขียนตอบได้อย่างอิสระตามความคิดเห็นของตนเองที่มีต่อการจัดงาน ประกอบด้วย จุดเด่น ข้อควรปรับปรุง และข้อเสนอแนะ การเก็บรวบรวมข้อมูล คณะด าเนินการเก็บรวบรวมข้อมูลโดยขอความร่วมมือและขอความอนุเคราะห์ผู้มาร่วมงานเชิดชูเกียรติศิลปินพื้นบ้านอีสาน ประจ าปี 2554 ณ สถาบันวิจัยศิลปะและวัฒนธรรมอีสาน ระหว่างวันที่ 1-2 มิถุนายน 2554 กรอกข้อมูลในแบบสอบถาม โดยการเลือกสุ่ มแบบบังเอิญ ทั่วบริเวณงาน การวิเคราะห์ข้อมูล

Page 11: อเนก นาคะบุตรkpi.msu.ac.th/upload/ag_tor_ref_byqty/ag_59_in_7.1.2_3_50(2555).pdf · จิตต่อศิลปินแห่งชาติ และได้ประชุมสัมมนาทางวิชาการเกี่ยวกับศิลปวัฒนธรรม

ข้อมูลที่ได้จากแบบสอบถามน ามาด าเนินการตามขั้นตอนดังนี้ 1. ตรวจสอบความสมบูรณ์และความถูกต้องของแบบประเมิน แล้วด าเนินการประมวลผลข้อมูลทั้งหมด ด้วยโปรแกรม Microsoft Excel 2. ข้อมูลตอนที่ 2 เป็นการสรุปความพึงพอใจภาพรวมของผู้เข้าร่วมงานฯ ต่อการ จัดงาน ด้วยการหาค่าร้อยละ

3. ข้อมูลตอนที่ 3 น ามาวิเคราะห์ข้อความและสรุปน าเสนอลักษณะเชิงคุณภาพ ผลการประเมิน

ตอนที่ 1 สถานภาพของผู้ตอบแบบสอบถาม ดังตาราง 1

ตาราง 1 แสดงจ านวนและร้อยละสถานภาพของผู้ตอบแบบสอบถาม สถานภาพ จ านวน ร้อยละ 1. เพศ ชาย 55 38.19 หญิง 89 61.81 2. อายุ ต่ ากว่า 20 ปี 14 9.72 20-30 ปี 37 25.69 31-40 ปี 42 29.17 41-50 ปี 30 20.83 50 ปีขึ้นไป 21 14.58 3. การศึกษา มัธยมศึกษาหรือต่ ากว่า 38 26.39 อนุปริญญา 33 22.92 ปริญญาตร ี 44 30.56 สูงกว่าปริญญาตร ี 29 20.14 4. อาชีพ รับราชการ/รัฐวิสาหกิจ 17 11.81 ส่วนตัว 41 28.47 พนักงานบริษัท/หน่วยงานเอกชน 15 10.42 นักเรียน/นิสิต/นักศึกษา 66 45.83 อ่ืน ๆ 5 3.47

Page 12: อเนก นาคะบุตรkpi.msu.ac.th/upload/ag_tor_ref_byqty/ag_59_in_7.1.2_3_50(2555).pdf · จิตต่อศิลปินแห่งชาติ และได้ประชุมสัมมนาทางวิชาการเกี่ยวกับศิลปวัฒนธรรม

จากตาราง 1 แสดงว่า ผู้ตอบแบบสอบถามเป็นเพศหญิง มากท่ีสุด คิดเป็นร้อยละ 61.81 และเพศชาย คิดเป็นร้อยละ 38.19 อายุ 31-40 ปี มากท่ีสุด คิดเป็นร้อยละ 29.17 มีอายุต่ ากว่า 20 ปี น้อยที่สุด คิดเป็นร้อยละ 9.72 การศึกษาอยู่ในระดับปริญญาตรีมากท่ีสุด คิดเป็นร้อยละ 30.56 และระดับสูงกว่าปริญญาตรี น้อยที่สุด คิดเป็นร้อยละ 20 .14 และเป็นนักเรียน /นิสิต /นักศึกษา มากที่สุด คิดเป็นร้อยละ 45.83 และมีอาชีพอ่ืนๆ อาทิพนักงานมหาวิทยาลัย ก านัน ผู้ใหญ่บ้าน เป็นต้น น้อยที่สุด คิดเป็นร้อยละ 3.47 ตามล าดับ ตอนที่ 2 การประเมินความพึงพอใจต่อการจัดงานเชิดชูเกียรติศิลปินพื้นบ้าน ดังตาราง 2

ตาราง 2 ความพึงพอใจต่อการจัดงานเชิดชูเกียรติศิลปินพื้นบ้านอีสาน ประจ าปี 2554

ความพึงพอใจต่อการจัดงานเชิดชูเกียรติศิลปินพื้นบ้านอีสาน ประจ าปี 2554 จ านวน ร้อยละ พึงพอใจมากที่สุด 57 39.58 พึงพอใจมาก 71 49.31 พึงพอใจปานกลาง 16 11.11 พึงพอใจน้อย - - พึงพอใจน้อยที่สุด - - รวม 144 100 จากตาราง 2 สรุปได้ว่า ผู้เข้าร่วมงานเชิดชูเกียรติศิลปินพื้นบ้านอีสาน ประจ าปี 2554 มีความพึงพอใจภาพรวมต่อการจัดงาน อยู่ในระดับมากถึงมากท่ีสุด ร้อยละ 88.89

ตอนที่ 3 ข้อคิดเห็นต่อการจัดงานเชิดชูเกียรติศิลปินพื้นบ้านอีสาน ประจ าปี 2554

ตาราง 3 ข้อคิดเห็นต่อการจัดงานเชิดชูเกียรติศิลปินพื้นบ้านอีสาน ประจ าปี 2554

จุดเด่น ข้อควรปรับปรุง ข้อเสนอแนะ 1.เป็นกิจกรรมต่อเนื่องที่ได้อนุรักษ ์ และรักษาไว้ซึ่งศิลปวัฒนธรรม พ้ืนบ้านอีสาน 2.การจัดแสดงนิทรรศการของศิลปิน ที่ได้รับการเชิดชูเกียรติฯ ดีมาก 3.ศิลปินมีความเหมาะสมในการรับ การเชิดชูเกียรติ 4.การจัดฉากบนเวทีสวยงาม

1.เรื่องการประชาสัมพันธ ์ ไม่ทั่วถึง 2.บริเวณการจัดงาน น่าจะใช้หอประชุม

1.ควรจัดให้มีการแสดงของศิลปิน พ้ืนบ้านอีสานทุกสาขาท่ีได้รับ การเชิดชูเกียรติ 2.ควรมีแผ่นพับการจัดงานแจกสื่อ และผู้เข้ารว่มงาน 3.ควรจัดในในช่วงที่ไม่ใช่ฤดูฝน เพราะท าให้การด าเนินงาน ติดขัดในหลายๆ เรื่อง เช่น เลื่อนเวลาเพื่อให้ฝนหยุดตก

Page 13: อเนก นาคะบุตรkpi.msu.ac.th/upload/ag_tor_ref_byqty/ag_59_in_7.1.2_3_50(2555).pdf · จิตต่อศิลปินแห่งชาติ และได้ประชุมสัมมนาทางวิชาการเกี่ยวกับศิลปวัฒนธรรม

ภาพกิจกรรม

Page 14: อเนก นาคะบุตรkpi.msu.ac.th/upload/ag_tor_ref_byqty/ag_59_in_7.1.2_3_50(2555).pdf · จิตต่อศิลปินแห่งชาติ และได้ประชุมสัมมนาทางวิชาการเกี่ยวกับศิลปวัฒนธรรม

ปัญหาและอุปสรรค 1. ประชาชนเข้าร่วมโครงการค่อนข้างน้อย เนื่องจากมีกิ จกรรมที่จัดขึ้นในช่วงวันเวลาราชการ และเป็นช่วงเปิดภาคการศึกษาแล้ว 2. ศิลปินพื้นบ้านอีสานบางท่านมีสถานที่พ านักค่อนข้างไกล และมีอายุมาก จึงท าให้ไม่สะดวกในการเดินทางเข้าร่วมงาน

Page 15: อเนก นาคะบุตรkpi.msu.ac.th/upload/ag_tor_ref_byqty/ag_59_in_7.1.2_3_50(2555).pdf · จิตต่อศิลปินแห่งชาติ และได้ประชุมสัมมนาทางวิชาการเกี่ยวกับศิลปวัฒนธรรม

บทที่ 4

การบูรณาการ การเกิดประโยชน์ และสร้างคุณค่าต่อชุมชนหรือสังคม

การจัดงานเชิดชูเกียรติศิลปินพื้นบ้านอีสาน ประจ าปี 2554 ณ สถาบันวิจัยศิลปะและวัฒนธรรมอีสาน ระหว่างวันที่ 1-2 มิถุนายน 2554 เกิดการบูรณาการ เกิดประโยชน์ และสร้างคุณค่าต่อชุมชนหรือสังคม โดยเกิดการสร้างจิตส านึกท่ีดีให้แก่ประชาชน นิสิต นักศึกษา ต่อศิลปะและวัฒนธรรม อีกท้ังเป็นการเผยแพร่ประชาสัมพันธ์ให้ประชาชนได้รู้จักกับศิลปินพื้นบ้านที่มีชื่อเสียง มีความสามารถท่ีพ านักในภาคอีสาน ตลอดจนได้ร่วมกันแสดงมุทิตาจิตต่อศิลปินดังกล่าว ที่มีคุณูปการต่อการด ารงอนุรักษ์ศิลปะและวัฒนธรรมให้คงอยู่สืบต่อมาจนถึงปัจจุบัน การเกิดประโยชน์และสร้างคุณค่าทางสังคม ด้วยความ ตระหนักในคุณค่าความส าคัญของงานด้านท านุบ ารุงศิลปวัฒนธรรมท้องถิ่นอีสาน ความมุ่งม่ันสร้างสรรค์และปณิธานที่ตั้งไว้ สถาบันวิจัยศิลปะและวัฒนธรรมอีสาน มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ได้ด าเนินกิจกรรมงานอนุรักษ์ ส่งเสริม ท านุบ ารุง และเผยแพร่งานด้านศิลปวัฒนธรรมของท้องถิ่นอีสานอย่างต่อเนื่อง เพ่ือให้งานศิลปะและวัฒนธรรมของชาติไทยได้ด ารงคงเอกลักษณ์และสืบทอดให้เป็นที่ประจักษ์แก่บรรพชนสืบไป โดยการจัดโครงการเชิดชูเกียรติศิลปินพื้นบ้านอีสาน ประจ าปี 2554 ขึ้น เพ่ือเป็นการร าลึกและเทิดพระเกียรติแด่องค์พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย รัชกาลที่ 2 อัครศิลปิน ยุคต้นกรุงรัตนโกสินทร์ที่มีคุณูปการต่อวงการศิลปะและวัฒนธรรมของชาติไทย และได้เจริญรอยตามเบื้องพระยุคลบาทขององค์พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ภูมิพลอดุลยเดช รัชกาลปัจจุบัน ที่ทรงพระคุณอันล้ าเลิศต่อการอนุรักษ์ ส่งเสริม ท านุบ ารุง และเผยแพร่ศิลปวัฒนธรรมของชาติอย่างสูงยิ่ง นอกจากนี้ได้น าเหล่าบรรดาศิลปินแห่งชาติที่มีชื่อเสียงของชาวอีสานให้ประชาชน นักวิชาการ นิสิต นักศึกษา คณาจารย์ สภาวัฒนธรรมจังหวัดในภาคอีสานไดม้ีโอกาสพบปะแลกเปลี่ยนความรู้ในทางศิลปะและวัฒนธรรม และได้แสดงมุทิตาจิตต่อศิลปินแห่งชาติ ศิลปินพื้นบ้านอีสานที่ได้รังสรรค์ผลงานด้านศิลปะแขนงต่างๆ และมีคุณูปการต่อวงการศิลปะและวัฒนธรรม และเกิดเครือข่ายศิลปินพื้นบ้านอีสานขึ้นอย่างต่อเนื่อง อันน าไปสู่การพั ฒนาให้เกิดมูลค่าทางเศรษฐกิจในชุมชนอีสานต่อไป ประกอบกับประชาชน นิสิต นักศึกษา เกิดจิตส านึกท่ีดีและตระหนักเห็นคุณค่าความส าคัญต่อศิลปะและวัฒนธรรมของชาติและท้องถิ่น เกิดการท านุบ ารุง ส่งเสริม เผยแพร่ และอนุรักษ์ต่อกิจการศิลปะและวัฒนธรรมไทยและวัฒนธรรมท้องถิ่น พร้อมทั้งเกิดความรู้สึกหวงแหนในศิลปะและวัฒนธรรมของชาติ ซึ่งเกิดผลดีต่อมหาวิทยาลัยและประเทศชาติสืบไป

Page 16: อเนก นาคะบุตรkpi.msu.ac.th/upload/ag_tor_ref_byqty/ag_59_in_7.1.2_3_50(2555).pdf · จิตต่อศิลปินแห่งชาติ และได้ประชุมสัมมนาทางวิชาการเกี่ยวกับศิลปวัฒนธรรม

การน าผลไปปรับปรุงการด าเนินงาน การด าเนินงานจัดงานเชิดชูเกียรติศิลปินพื้นบ้านอีสาน ประจ าปี 2554 ณ สถาบันวิจัยศิลปะและวัฒนธรรมอีสาน ระหว่างวันที่ 1-2 มิถุนายน 2554 มีข้อคิดเห็นและข้อเสนอแนะของผู้เข้าร่วมการจัดงาน ซึ่งจะน าผลไปปรับปรุงการด าเนินงานจัดงานเชิดชูเกียรติฯ ในปีถัดไปดังนี้ 1. เรื่องการประชาสัมพันธ์การจัดงานไม่ทั่วถึง ซึ่งในปีถัดไปจะมีการเผยแพร่ ประชาสัมพันธ์การจัดงานผ่านสื่อที่หลากหลาย อาทิ เช่น เว็บไซต์ แผ่นป้ายโฆษณา วิทยุ เคเบิ้ลทีวี เป็นต้น

2. บริเวณการจัดงานน่าจะใช้หอประชุม การใช้ห้องประชุมในการจัดงานมีข้อจ ากัด เรื่องบริเวณคับแคบ ซึ่งไม่สะดวกต่อการเดินชมนิทรรศการของผู้เข้าร่วมงาน การจัดเลี้ยงรับรอง ศิลปินพื้นบ้านที่ได้รับการเชิดชูเกียรติ และแขกผู้มีเกียรติ ตลอดจนการด าเนินกิจกรรมบางกิจกรรม ต้องด าเนินการในที่โล่ง เช่น การจุดพลุ โคมลอย เป็นต้น

3. ควรจัดให้มีการแสดงของศิลปินพื้นบ้านอีสานทุกสาขาที่ได้รับการเชิดชูเกียรติ ซึ่งในปีถัดไปได้วางแผนการจัดกิจกรรมไว้ให้ศิลปินพื้นบ้านอีสานที่ได้รับการเชิดชูเกียรติทุกท่านได้โชว์ผลงาน/การแสดงบนเวทีทุกคน 4. ควรมีแผ่นพับการจัดงานแจกสื่อและผู้เข้าร่วมงาน ในปีถัดไปจะมีการท าแผ่นพับ เพ่ือประชาสัมพันธ์การจัดงานและแจกผู้เข้าร่วมงานทุกคน 5. ควรจัดในในช่วงที่ไม่ใช่ฤดูฝน เพราะท าให้การด าเนินงานติดขัดในหลายๆ เรื่อง เช่น เลื่อนเวลาเพื่อให้ฝนหยุดตก โดยปกติแล้วการจัดงานเชิดชูเกียรติฯ ประจ าทุกปี จะจัดข้ึนใน ช่วงเดือนกุมภาพันธ์ แต่ในปี 2554 หน่วยงานติดภารกิจจึงต้องเลื่อนการจัดงานออกไป และในปี ถัดไป น่าจะจัดข้ึนในเดือนกุมภาพันธ์เหมือนเช่นทุกๆ ปี เพราะทางคณะรัฐมนตรีได้มีมติเมื่อวันที่ 26 กุมภาพันธ์ พ.ศ.2528 ก าหนดให้วันที่ 24 กุมภาพันธ์ของทุกปีเป็นวันศิลปินแห่งชาติ เนื่องจากวันดังกล่าวเป็นวันคล้ายวันพระราชสมภพของพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย รัชกาลที่ 2 ซึ่งถือเป็น อัครศิลปิน ของประเทศไทยในช่วงต้นกรุงรัตนโกสินทร์ ดังนั้นทางรัฐบาลไทยจึงได้ก าหนดให้วันที่ 24 กุมภาพันธ์ของทุกปี เป็นวันศิลปินแห่งชาติ เพื่อเป็นการร าลึกถึงคุณูปการของพระองค์ท่านที่มีพระมหากรุณาธิคุณต่อวงการศิลปวัฒนธรรมไทยอย่างล้นเหลือจนเป็นมรดกสืบทอดตั้งแต่อดีตมาจนถึงปัจจุบัน และองค์พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ภูมิพลอดุลยเดช รัชกาลปัจจุบัน พระมหากษัตริย์ผู้ทรงพระคุณอันล้ าเลิศต่อการอนุรักษ์ ส่งเสริม ท านุบ ารุง และเผยแพร่ศิลปวัฒนธรรมของชาติอย่างสูงยิ่ง

Page 17: อเนก นาคะบุตรkpi.msu.ac.th/upload/ag_tor_ref_byqty/ag_59_in_7.1.2_3_50(2555).pdf · จิตต่อศิลปินแห่งชาติ และได้ประชุมสัมมนาทางวิชาการเกี่ยวกับศิลปวัฒนธรรม

บทที่ 5

บทสรุป รายละเอียดงานโดยย่อ สรุปผล 1. สถานภาพของผู้เข้าร่วมงานเชิดชูเกียรติศิ ลปินพื้นบ้านอีสาน ประจ าปี 2554 ผู้ตอบแบบสอบถามเป็นเพศหญิง มากที่สุด คิดเป็นร้อยละ 61.81 และเพศชาย คิดเป็นร้อยละ 38.19 อายุ 31-40 ปี มากท่ีสุด คิดเป็นร้อยละ 29.17 มีอายุต่ ากว่า 20 ปี น้อยที่สุด คิดเป็นร้อยละ 9.72 การศึกษาอยู่ในระดับปริญญาตรีมากที่สุด คิ ดเป็นร้อยละ 30.56 และระดับสูงกว่าปริญญาตรี น้อยที่สุด คิดเป็นร้อยละ 20.14 และเป็นนักเรียน /นิสิต/นักศึกษา มากที่สุด คิดเป็นร้อยละ 45.83 และมีอาชีพอ่ืนๆ อาทิพนักงานมหาวิทยาลัย ก านัน ผู้ใหญ่บ้าน เป็นต้น น้อยที่สุด คิดเป็นร้อยละ 3.47 ตามล าดับ 2. การประเมินความพึงพอใจของผู้เข้าร่วมงานเชิดชูเกียรติศิลปินพื้นบ้านอีสาน ประจ าปี 2554 สรุปได้ว่า ผู้เข้าร่วมงานเชิดชูเกียรติศิลปินพื้นบ้านอีสาน ประจ าปี 2554 มีความพึงพอใจภาพรวมต่อการจัดงาน อยู่ในระดับมากถึงมากท่ีสุด ร้อยละ 88.89 3. ข้อคิดเห็นของผู้เข้าร่วม งานเชิดชูเกียรติศิลปินพื้นบ้านอีสาน ประจ าปี 2554 สรุปได้คือ จุดเด่น ได้แก่ 1. เป็นกิจกรรมต่อเนื่องที่ได้อนุรักษ์และ รักษาไว้ซึ่งศิลปวัฒนธรรมพื้นบ้านอีสาน 2. การจัดแสดงนิทรรศการของศิลปินที่ได้รับการเชิดชูเกียรติฯ ดีมาก 3. ศิลปินมีความเหมาะสมในการรับการเชิดชูเกียรติ 4. การจัดฉากบนเวทีสวยงาม ข้อควรปรับปรุง คือ 1. เรื่องการประชาสัมพันธ์ ไม่ทั่วถึง 2. บริเวณการจัดงานน่าจะใช้หอประชุม ส่วนข้อเสนอแนะ ได้แก่ 1. ควรจัดให้มีการแสดงของศิลปินพ้ืนบ้านอีสานทุกสาขาท่ีได้รับการเชิดชูเกียรติ 2. ควรมีแผ่นพับการจัดงานแจกสื่อและผู้เข้าร่วมงาน 3. ควรจัดในในช่วงที่ไม่ใช่ฤดูฝน เพราะท าให้การด าเนินงานติดขัดในหลายๆ เรื่อง เช่น เลื่อนเวลาเพื่อให้ฝนหยุดตก

อภิปรายผล การจัดโครงการเชิดชูเกียรติศิลปินพื้นบ้านอีสาน ประจ าปี 2554 ขึ้น เป็นการร าลึกและเทิดพระเกียรติแด่ องค์พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย รัชกาลที่ 2 อัครศิลปิน ยุคต้นกรุงรัตนโกสินทร์ที่มีคุณูปการต่อวงการศิลปะและวัฒนธรรมของชาติไทย และเป็นการเจริญรอยตามเบื้องพระยุคลบาทขององค์พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ภูมิพลอดุลยเดช รัชกาลปัจจุบัน ที่ทรงพระคุณอันล้ าเลิศต่อการอนุรักษ์ ส่งเสริม ท านุบ ารุง และเผยแพร่ศิลปวัฒนธรรมของชาติอย่างสูงยิ่ง นอกจากนี้ได้น าเหล่าบรรดาศิลปินแห่งชาติที่มีชื่อเสียงของชาวอีสานให้ประชาชน นักวิชาการ นิสิต นักศึกษา คณาจารย์ สภาวัฒนธรรมจังหวัดในภาคอีสานได้มีโอกาสพบปะแลกเปลี่ยนความรู้ในทางศิลปะ และวัฒนธรรม และได้แสดงมุทิตาจิตต่อศิลปินแห่งชาติ ศิลปินพื้นบ้านอีสานที่ได้รังสรรค์ผลงานด้านศิลปะแขนงต่างๆ แล้ว ยังสามารถสร้างเครือข่ายศิลปินพื้นบ้านอีสานขึ้นอย่างต่อเนื่อง อันน าไปสู่การพัฒนาให้เกิดมูลค่าทางเศรษฐกิจในชุมชนอีสานต่อไป โดยโครงการดังกล่าวท า ให้ประชาชน นิสิต นักศึกษา เกิดจิตส านึกที่ดี

Page 18: อเนก นาคะบุตรkpi.msu.ac.th/upload/ag_tor_ref_byqty/ag_59_in_7.1.2_3_50(2555).pdf · จิตต่อศิลปินแห่งชาติ และได้ประชุมสัมมนาทางวิชาการเกี่ยวกับศิลปวัฒนธรรม

ตระหนักเห็นคุณค่าความส าคัญและเกิดการท านุบ ารุง ส่งเสริม เผยแพร่ อนุรักษ์ และหวงแหนต่อศิลปะและวัฒนธรรมของชาติและท้องถิ่น ซึ่งสอดคล้องกับผลการด าเนินงานของฝ่ายศิลปวัฒนธรรมและศิษย์เก่าสัมพันธ์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น ที่ได้จัดงานเฉลิมพระเกียรติเนื่องในวโรกาส วันคล้ายวันพระราชสมภพ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี และวันอนุรักษ์มรดกไทย ประจ าปี 2552 ขึ้น ในวันที่ 1-2 เมษายน 2552 ณ ห้องประชุมพาขวัญ โรงแรมขวัญมอ และ อาคารหอศิลปวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยขอนแก่น เนื่องในวันที่ 2 เมษายน 2552 เป็นวันคล้ายวันพระราชสมภพของสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี เพ่ือส านึกในพระกรุณาธิคุณของพระองค์ท่ีทรงส่งเสริมศิลปวัฒนธรรมไทยมาอย่างยาวนาน และเพ่ือให้สอดรับกับพันธกิจการท านุบ ารุงศิลปวัฒนธรรมของฝ่ายศิลปวัฒนธรรมและศิษย์เก่ าสัมพันธ์ โดยมีกิจกรรมที่น่าสนใจมากมาย เช่น การแสดงชุดเรือมถวายเปร็ยเจ็ยอ็องกุมาเร็ยสิรินธร การจัดแสดงนิทรรศการศิลปินมรดกอีสาน ประจ าปี 2552 การเสวนาวิชาการ “ความเป็นมาการเปลี่ยนแปลงและผลกระทบการแสดงหมอล าในสังคมปัจจุบัน ” การน าเสนอผลงานวิจัยด้านศิลปะการ แสดงหมอล า การแสดงวงดนตรีพื้นบ้านอีสาน พิธีมอบโล่เชิดชูเกียรติศิลปินมรดกอีสาน และผู้มีผลงานดีเด่นด้านวัฒนธรรมสัมพันธ์ ประจ าปี 2552 นับเป็นงานที่ส าคัญและมีความน่าสนใจไม่น้อย เนื่องเพราะกิจกรรมดังกล่าวเป็นการเปิดพื้นท่ีให้กับศิลปินและผู้ที่ท างานด้านวัฒนธ รรม ให้มีโอกาสเปิดเผยศักยภาพ พลังสร้างสรรค ์ คุณงาม ความดี ผ่านผลงาน และกิจกรรมอันก่อเกิดคุณประโยชน์ต่อสาธารณชน ให้เป็นที่ประจักษ์ในวงกว้าง โดยมหาวิทยาลัยขอนแก่นได้ตะหนักถึงคุณูปราการที่ท่านเหล่านั้นสร้างสรรค์เอาไว้เป็นมรดกกับแผ่นดินอีสาน จึงได้จัดกิจกรรมยกย่องเชิดชูเกียรติศิลปินมรดกอีสาน เป็นประจ าทุกปี โดยก าหนดเป็นแผนงานประจ าปีตามยุทธศาสตร์การท านุบ ารุงส่งเสริมศิลปวัฒนธรรม

ข้อเสนอแนะ 1. ควรส่งเสริมให้ประชาชนทั่วประเทศได้มีโอกาสเข้าร่วมกิจกรรมทางด้านศิลปะและ

วัฒนธรรม เพ่ือเกิดความภาคภูมิใจ เกิดความรัก ความหวงแหน ได้ชื่นชมและมีส่วนร่วมในการอนุรักษ์ สืบทอดมรดกวัฒนธรรมไทยและวัฒนธรรมท้องถิ่นของศิลปินพื้นบ้านอีสานในท้องถิ่นตนเอง 2. ควรจัดกิจกรรมยกย่องเชิดชูเกียรติและสืบสานภูมิปัญญาของศิลปินพื้นบ้านอย่างต่อเนื่อง เพ่ือเป็นแบบอย่างอันดีงามให้คนรุ่นหลังได้เจริญรอยตาม และเกิดแรงเสริมให้ศิลปินที่ได้รับการยกย่องมีพลังที่สร้างสรรค์และเผยแพร่ผลงาน เพ่ือสืบสานงานด้านศิลปะต่อไปในอนาคต 3. ควรด าเนินการรวบรวมองค์ความรู้ของศิลปินแขนงต่างๆ จัดท าเป็นฐานข้อมูลแล้วจัดแสดงไว้ในอาคารหอศิลปินพื้นบ้านอีสาน เพ่ือเป็นแหล่งเรียนรู้ให้ผู้สนใจได้เข้าศึกษาหาความรู้ ซ่ึงถือเป็นการปลุกกระแสการท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์ศิลปวัฒนธรรมให้กับคนในท้องถิ่นอย่างยั่งยืน